Page 145 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดสุราษฎร์ธานี
P. 145

4-27


                                      (4.1.8)  มีการจัดการโรงเรือน สิ่งแวดลอม ของเสียที่ถูกตองตามหลักสุขาภิบาล

                                      (4.1.9)  มีการจัดการดานอาหารสัตวอยางถูกตองตามหลักสุขศาสตร
                                (4.2)  ทุงหญาเลี้ยงสัตว
                                      การจัดการ

                                      (4.2.1)  ปลูกหญาผสมกับถั่วอาหารสัตวในแปลงเดียวกัน
                                      (4.2.2)  คัดเลือกสายพันธุหญา และถั่วอาหารสัตวที่ปลูกงาย ขยายพันธุไดเร็ว ผลผลิต

               สูง คุณคาทางอาหารสูง มีความนากิน ทนตอการเหยียบย่ําและแทะเล็มของสัตวใหเหมาะสมกับสภาพพื้นที่
               และสัตวที่เลี้ยงอยู เชน สภาพพื้นที่ดอน ไมมีระบบน้ํา ปลอยโคลงแทะเล็ม แนะนําหญารูซี่ ถั่วฮามาตา ที่ดอน

               มีระบบน้ํา ตัดใหสัตวกิน แนะนําหญาเนเปยร พันธุปากชอง หญาแพงโกลา หญากินนี่สีมวง ถั่วคาวาลเคล
                                      (4.2.3)  กําหนดอัตราสัตวแทะเล็มของทุงหญาใหเหมาะสม หมายถึงจํานวนสัตว

               ที่พอเหมาะกับพื้นที่ทุงหญาในชวงเวลาหนึ่ง ถามีสัตวมากเกินไป หญาจะถูกแทะเล็มเหยียบย่ําจนตายในเวลา
               รวดเร็ว ถามีสัตวนอยเกินไป หญาจะเหลือมาก เปลืองคาใชจาย จึงตองกําหนดจํานวนสัตวใหพอเหมาะกับพื้นที่
                                      (4.2.4)  สํารองพืชอาหารสัตว เพื่อใหสัตวบริโภคในชวงฤดูแลง ในรูปหญาแหง

               หรือหญาหมัก
                                      (4.2.5) หลังตัดหญาหรือปลอยสัตวลงแทะเล็มทุกครั้ง ควรปรับปรุงบํารุงดิน

               ใหมีความอุดมสมบูรณ ตามความตองการของพืชอาหารสัตวแตละชนิด
                                      (4.2.6)  อบรมการจัดทําทุงหญาเลี้ยงสัตวใหถูกตองตามหลักวิชาการ
                            (5)  เขตเพาะเลี้ยงสัตวน้ํา เนื้อที่ 64,083 ไร หรือรอยละ 0.80 ของเนื้อที่จังหวัดสุราษฎรธานี

               กําหนดจากการสํารวจสภาพการใชที่ดินจังหวัดสุราษฎรธานี ป 2561 โดย กลุมวิเคราะหสภาพการใชที่ดิน
               กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน  ประกอบดวยสถานที่เพาะเลี้ยง สัตวน้ําผสม  สถานที่

               เพาะเลี้ยงปลา  สถานที่เพาะเลี้ยงกุง  และสถานที่เพาะเลี้ยงสัตวน้ําราง แบงเขตเพาะเลี้ยงสัตวน้ําออกเปน
               2 เขต คือ

                                (5.1)  เขตเพาะเลี้ยงสัตวน้ํา เนื้อที่ 54,174 ไร หรือรอยละ 0.68 ของเนื้อที่จังหวัด
               สุราษฎรธานี เปนเขตเพาะเลี้ยงสัตวน้ําที่ดําเนินการอยูในปจจุบัน ประกอบดวยสถานที่เพาะเลี้ยงสัตวน้ําผสม

               สถานที่เพาะเลี้ยงปลา และสถานที่เพาะเลี้ยงกุง
                                      การจัดการ
                                      (5.1.1)  วางแผนการตลาด ตองหาตลาดจําหนายใหไดกอนการเลี้ยง

                                      (5.1.2)  จัดหาแหลงน้ําที่ดี มีทางน้ําเขาและน้ําออกคนละสาย เพื่อสะดวก
               ในการนําน้ํามาใชในบอเลี้ยง

                                      (5.1.3)  ตรวจสอบคุณภาพน้ําในบอเลี้ยงอยางสม่ําเสมอ เพื่อจะไดปรับปรุง
               ใหอยูในสภาพที่เหมาะสมกับการอยูอาศัยของสัตวน้ํา  ซึ่งเปนปจจัยสําคัญในการเพาะเลี้ยงสัตวน้ําใหประสบ

               ความสําเร็จ
                                      (5.1.4)  เลือกใชลูกกุง ลูกปลา และอาหารเลี้ยงที่มีคุณภาพดี

                                       (5.1.5)  ใชอัตราการปลอยลูกกุง ลูกปลาที่มีความเหมาะสม
                                      (5.1.6)  ใชจุลินทรียชวยยอยของเสียภายในบอเลี้ยง
   140   141   142   143   144   145   146   147   148   149   150