Page 144 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดสุราษฎร์ธานี
P. 144

4-26


                                     (3.3.2.1)   ดินตื้น

                                                เก็บตัวอยางดินวิเคราะห  วัดคาความเปนกรดเปนดางของดิน (pH)
               วิเคราะหปริมาณธาตุอาหาร ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม เพื่อนําไปหาอัตราปุยที่ตองใช
                                                มีการเขตกรรมที่เหมาะสม ไถพรวนดินใหนอยที่สุด เพื่อปองกัน

               การชะลางพังทลายของดิน.........
                                                เพิ่มความอุดมสมบูรณของดินโดยใชปุยอินทรีย ไดแก ปุยหมัก ปุยคอก

               หรือปลูกพืชตระกูลถั่ว แลวไถกลบเพื่อเพิ่มความสามารถในการดูดซับธาตุอาหารและน้ําใหแกดินและใชปุยเคมี
               รวม

               .........                        จัดหาแหลงน้ําใหพอเพียงกับการเพาะปลูก และมีการใหน้ําอยางมี
               ประสิทธิภาพ เชน ใหน้ําแบบหยด และใชวัสดุคลุมดินเพื่อปองกันการระเหยของน้ําและเก็บรักษาความชื้น

               ในดิน
                                      (3.3.2.2)  ดินบนพื้นที่ลาดชันปานกลาง ความลาดชัน 12 - 20 เปอรเซ็นต
                                                นําหลักการอนุรักษดินและน้ําเขามาปฏิบัติในพื้นที่อยางเขมขน

               โดยทําคันคูรอบเขาหรือ คันดินรับน้ํารอบเขา เพื่อระบายน้ํา ไมควรมีการไถพรวนในพื้นที่ ควรใชวิธีปลูก
               พืชแซมหรือพืชคลุมดินแถวทุเรียน เงาะ มังคุด แบบไมไถพรวน และใชปุยหมักบํารุงดินดวย

                            (4)  เขตปศุสัตว เนื้อที่ 1,521 ไร หรือรอยละ 0.02 ของเนื้อที่จังหวัดสุราษฎรธานี กําหนดจาก
               การสํารวจสภาพการใชที่ดินจังหวัดสุราษฎรธานี ป 2561 โดย กลุมวิเคราะหสภาพการใชที่ดิน กองนโยบาย
               และแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน  ประกอบดวยโรงเรือนเลี้ยงโค กระบือ มา โรงเรือนเลี้ยงสัตวปก

               และทุงหญาเลี้ยงสัตว
                                (4.1)  โรงเรือนเลี้ยงโค กระบือ มา และโรงเรือนเลี้ยงสัตวปก

                                      การจัดการ
                                      (4.1.1)  ระบบสาธารณูปโภค ตองมีแหลงน้ําสะอาดตลอดป มีน้ําสะอาดสําหรับ

               เลี้ยงสัตว
                                      (4.1.2)  ผลกระทบตอชุมชนและสิ่งแวดลอม มีระบบการจัดการมูลสัตว ขยะ

               ซากสัตวตาย ตลอดจนการกําจัดของเสียตางๆ เพื่อปองกันการเกิดแมลงวัน และมลพิษตางๆ โดยเฉพาะ
               มวลพิษทางน้ําและกลิ่น
                                      (4.1.3)  โรงเรือนและอุปกรณการเลี้ยงตองผานการลางทําความสะอาดฆาเชื้อโรค

               และพักกอนการรับเขาเลี้ยง
                                      (4.1.4)  ควบคุมและกําจัดสัตวพาหะนําโรค เชน นก หนู แมลง และสัตวเลี้ยง

               ตางๆ
                                      (4.1.5)  มีมาตรการควบคุมการแพรระบาดของโรค เมื่อมีสัตวปวย มีเตาเผา

               ซากสัตวตาย
                                      (4.1.6)  ใหมีสัตวแพทยควบคุมกํากับดูแลดานสุขภาพสัตว และสุขอนามัย

               ภายในฟารม
                                      (4.1.7)  มีระบบทําลายเชื้อโรคกอน - ออกจากฟารม
   139   140   141   142   143   144   145   146   147   148   149