Page 142 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดสุราษฎร์ธานี
P. 142

4-24


                                                ใสปุยเคมีตามคาวิเคราะหดิน ควรเปนปุยเคมีที่ละลายชา แบงใส

               ครั้งละนอยๆ ใสในขณะที่ดินมีความชื้นเหมาะสม และควรใชรวมกับปุยอินทรีย
                                      (3.2.3.3)  ดินเปรี้ยวจัด
                                                เก็บตัวอยางดินวิเคราะห วัดคาความเปนกรดเปนดางของดิน (pH)

               ดินเปนกรดรุนแรงมากหรือนอย หาคาความตองการปูนของดิน วิเคราะหปริมาณธาตุอาหาร ไนโตรเจน
               ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม เพื่อนําไปหาอัตราปุยที่ตองใช

                                                ปรับปรุงแกไขความเปนกรดของดินดวยวัสดุปูนโดโลไมต อัตราตาม
               ความตองการปูนของดิน หรือปริมาณ 2  ตันตอไร เพื่อปรับคา pH  ใหอยูในชวงที่เหมาะสม โดยหวานปูน

               ทั่วพื้นที่แปลงปลูก หรือปรับปรุงเฉพาะหลุมปลูก (3-5  กิโลกรัมตอหลุม) สับคลุกเคลาปูนกับดิน รดน้ําพอชุม
               หมักทิ้งไวประมาณ 20 วัน ยอยดินแลวปลูกพืชตระกูลถั่ว (ถั่วพุม ถั่วพรา) เพื่อสับกลบเปนปุยพืชสด

               ........                         ปรับปรุงเนื้อดินใหรวนซุย ระบายน้ําไดดี โดยใสปุยหมัก ทุกปๆ ละ
               25-50 กิโลกรัม รอบแนวทรงพุม
                                      (3.2.3.4)  ดินเค็มชายทะเล

                               ..............   การลางดิน สามารถทําได โดยการนําน้ําจืดเขามาชะลางเกลือ
               แลวระบายเกลือออกไป ในกรณีที่ดินมีเกลือโซเดียมสูงๆ ควรใชยิปซัมรวมในการลางดิน.............

                               .                ลดระดับน้ําใตดิน โดยวิธีระบายออกหรือสูบออก.การใชวัสดุอินทรีย
               ปรับปรุงดิน เชน ปุยหมัก ปุยคอก ปุยพืชสด
                                      (3.2.3.5)  ดินบนพื้นที่ลาดชันปานกลาง ความลาดชัน 12 - 20 เปอรเซ็นต

                                                นําหลักการอนุรักษดินและน้ําเขามาปฏิบัติในพื้นที่อยางเขมขน
               โดยทําคันคูรอบเขาหรือ คันดินรับน้ํารอบเขา เพื่อระบายน้ํา ไมควรมีการไถพรวนในพื้นที่ ควรใชวิธีปลูก

               พืชแซมหรือพืชคลุมดินแถวทุเรียน เงาะ มังคุด แบบไมไถพรวน และใชปุยหมักบํารุงดินดวย
                                (3.3)  เขตปลูกกาแฟ เนื้อที่ 451  ไรหรือรอยละ 0.01 ของเนื้อที่จังหวัดสุราษฎรธานี

               เปนกาแฟพันธุโรบัสตา ที่ปลูกเปนพืชเชิงเดี่ยว และมีกลวยปลูกแซม อยูในเขตเกษตรกรรมอาศัยน้ําฝน
               แบงเขตปลูกกาแฟออกเปน 2 เขต คือ

                                      (3.3.1)  เขตปลูกกาแฟมีความเหมาะสมปานกลาง เนื้อที่ 342 ไร เปนดินเหนียว
               ดินรวนเหนียว ดินรวน ดินรวนปนทราย ดินลึกปานกลางถึงลึกมาก การระบายน้ําดี สภาพพื้นที่ราบเรียบ
               ถึงลูกคลื่นลอนชัน ความลาดชัน 0 - 12 เปอรเซ็นต ความอุดมสมบูรณของดินต่ํา ถึงปานกลาง

                                      การจัดการ
                                      (3.3.1.1)  ใชเทคโนโลยีลดตนทุนการผลิตและลดผลกระทบสิ่งแวดลอม

               โดยการปรับปรุงบํารุงดินเพื่อฟนฟูความอุดมสมบูรณของดิน ใหมีธาตุอาหารอยางเพียงพอกับกาแฟ
               เพิ่มอินทรียวัตถุใหกับดินอยางตอเนื่อง ปองกันและหลีกเลี่ยงการกอมวลพิษใหกับสิ่งแวดลอม โดยการลดใช

               สารเคมี ดังนี้
                                                สงเสริมการใชปุยอยางมีประสิทธิภาพ โดยผสมปุยใชเอง ใสปุยให

               เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ ถูกตองกับชวงเวลาการเจริญเติบโตของกาแฟ          เพื่อลดการสูญเสียปุย
               หรือเกินความตองการของกาแฟ โดยวิเคราะหปริมาณธาตุอาหารในดิน คาความเปนกรดเปนดางของดิน
   137   138   139   140   141   142   143   144   145   146   147