Page 146 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดสุราษฎร์ธานี
P. 146

4-28


                                      (5.1.7)  เพิ่มอากาศภายในน้ํา โดยใชเครื่องใบพัดตีน้ําใหเพียงพอ และตีน้ํา

               อยางสม่ําเสมอ
                                      (5.1.8)  ใชปูนลดความเปนกรดของดิน
                                (5.2)  เขตฟนฟูพื้นที่เพาะเลี้ยงสัตวน้ําราง เนื้อที่ 9,909 ไร หรือรอยละ 0.21 ของเนื้อที่

               จังหวัดสุราษฎรธานี จัดการฟนฟูดินเพื่อการเกษตร ดังนี้
                                      การจัดการ

                                      (5.2.1)  ควรสํารวจความตองการของเกษตรกรที่ตองการฟนฟูพื้นที่
                                      (5.2.2)  ปรับสภาพพื้นที่มาใชประโยชนทางการเกษตร

                                             (5.2.2.1)  เพื่อการทํานา ระบายน้ําออกจากบอใหหมด ตากดิน
               ใหแหง ทลายคันดินทั้งหมด ปรับระดับพื้นที่ใหสม่ําเสมอ จัดรูปแปลงนา คันนา และทางระบายน้ําเขาออก

               เก็บตัวอยางดิน วิเคราะหสมบัติทางกายภาพและเคมี เพื่อแกไขปญหาความเค็ม โซเดียมในดิน ความเปนกรด
               ของดิน ทําการลางดิน โดยบมดินดวยปูนและยิปซัม และระบายน้ําเขา - ออก ใชวัสดุปรับปรุงบํารุงดิน เชน
               ปุยหมัก ปุยคอก พืชปุยสด แกลบ ขี้เถาแกลบ ปลูกขาวโดยเลือกใชพันธุขาวที่เหมาะสมกับคาความเค็มของดิน

               ที่วิเคราะหไว
                                             (5.2.2.2)  ยกรองปลูกไมผล ไมยืนตน พืชผัก  สรางคันดินปองกัน

               น้ําทวม ยกรองปลูก      เก็บตัวอยางดิน วิเคราะหสมบัติทางกายภาพและเคมี เพื่อแกไขปญหา
               ความเค็ม โซเดียมในดิน ความเปนกรดของดิน ทําการลางดิน โดยบมดินดวยปูนและยิปซัม และระบาย
               น้ําเขา - ออก ใชวัสดุปรับปรุงบํารุงดิน เชน ปุยหมัก ปุยคอก พืชปุยสด แกลบ ขี้เถาแกลบ ปลูกไมผล ไมยืนตน

               พืชผัก ที่เหมาะสมกับคาความเค็มของดินที่วิเคราะหไว
                            (6)  เขตเกษตรผสมผสาน ไรนาสวนผสม เนื้อที่ 1,053 ไร หรือรอยละ 0.01 ของเนื้อที่จังหวัด

               สุราษฎรธานี กําหนดจากการสํารวจสภาพการใชที่ดินจังหวัดสุราษฎรธานี ป 2561 โดย กลุมวิเคราะห
               สภาพการใชที่ดิน กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน

                                การจัดการ
                                (6.1)  ใชเทคโนโลยีลดตนทุนการผลิตและลดผลกระทบสิ่งแวดลอม  โดยการปรับปรุง

               บํารุงดิน เพื่อฟนฟูความอุดมสมบูรณของดิน ใหมีธาตุอาหารอยางเพียงพอ เพิ่มอินทรียวัตถุใหกับดิน
               อยางตอเนื่อง ปองกันและหลีกเลี่ยงการกอมวลพิษใหกับสิ่งแวดลอม โดยการลดใชสารเคมี ดังนี้
                                      สงเสริมการใชปุยอยางมีประสิทธิภาพ โดยผสมปุยใชเอง ใสปุยใหถูกตอง

               กับชวงเวลาการเจริญเติบโตของพืช เพื่อลดการสูญเสียปุย หรือเกินความตองการของพืช โดยวิเคราะหปริมาณ
               ธาตุอาหารในดิน คาความเปนกรดเปนดางของดิน ซึ่งเปนสิ่งแรกที่สําคัญอยางยิ่ง กอนการใสปุยตามชวงเวลา

               การเจริญเติบโตของพืช พื้นที่ที่เปนดินกรด ปรับปรุงโดยใสโดโลไมท
                                      สงเสริมการใชสารอินทรียรวมกับปุยเคมี และสารเคมีที่มีราคาแพง  โดยใช

               ผลิตภัณฑจุลินทรียของกรมพัฒนาที่ดิน เชน   ผลิตปุยหมักใชเองจากวัสดุที่มีในทองถิ่น เชน ทะลาย
               ปาลมน้ํามันเปลา เศษวัสดุจากการหีบปาลมน้ํามัน (ขี้เคก) ดวยสารเรงซูปเปอร พด.1 ปุยอินทรียคุณภาพสูง

               สูตรกรมพัฒนาที่ดิน ปุยชีวภาพ พด. 12 รวมกับปุยเคมี ผลิตน้ําหมักชีวภาพดวยสารเรงซูปเปอร พด.2
               ปลูกพืชปุยสดบํารุงดิน
   141   142   143   144   145   146   147   148   149   150   151