Page 143 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดสุราษฎร์ธานี
P. 143

4-25


               ซึ่งเปนสิ่งแรกที่สําคัญอยางยิ่ง กอนการใสปุยตามชวงเวลาการเจริญเติบโต พื้นที่ที่เปนดินกรด ปรับปรุง

               โดยใสปูนโดโลไมท
                                                สงเสริมการใชสารอินทรียรวมกับปุยเคมี และสารเคมีที่มีราคาแพง
               โดยใชผลิตภัณฑจุลินทรียของกรมพัฒนาที่ดิน เชน   ผลิตปุยหมักใชเองจากวัสดุที่มีในทองถิ่น เชน

               จากเปลือกกาแฟ ดวยสารเรงซูปเปอร พด.1 ปุยอินทรียคุณภาพสูง สูตรกรมพัฒนาที่ดิน ปุยชีวภาพ พด. 12
               รวมกับปุยเคมี ผลิตน้ําหมักชีวภาพดวยสารเรงซูปเปอร พด.2 เพื่อราดโคนตน ปลูกพืชปุยสดในสวนกาแฟ เชน

               ถั่วพรา โดยคลุกเมล็ดถั่วพราดวยจุลินทรียสําหรับพืชปรับปรุงบํารุงดิน พด.11 (ถั่วพรา) ชวยเพิ่มธาตุอาหาร
               ในดินใหกาแฟ ไดรับประโยชนไปดวย

                                      (3.3.1.2)  เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต
                                                สงเสริมการปลูกกาแฟโรบัสตาพันธุดี ทดแทนกาแฟที่มีอายุมาก

               ซึ่งใหผลผลิตนอย
                                                ประยุกตใชหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เกษตรทฤษฎีใหมตาม

               แนวพระราชดําริ ซึ่งเปนการใชที่ดินอยางมีประสิทธิภาพ เพื่อลดความเสี่ยงในการปลูกกาแฟอยางเดียว
               เสริมรายไดดวยการแบงพื้นที่วางในสวนกาแฟ ทําสวนกาแฟแบบผสมผสาน เกษตรผสมผสาน เกษตรอินทรีย

               แบบมีสวนรวม (PGS) โดยปลูกพืชหลากหลายชนิดในสวนกาแฟ เชน พืชผักอินทรีย สมุนไพร เปนพืชแซม
               การทําสวนกาแฟผสมผสาน ทําใหใหมีพืชหมุนเวียนในการเก็บผลผลิตเพื่อจําหนายมีรายไดเสริมและหมุนเวียน
               ตลอดป เพื่อลดความเสี่ยงของปริมาณผลผลิต ราคาผลผลิต และการตลาด  กรณีไมปลูกพืชแซม อาจปลูก

               พืชตระกูลถั่วคลุมดิน เชน ถั่วคาโลโปโกเนียม ถั่วเพอราเรีย   ถั่วเซนโตรซีมาเพื่อปองกันและควบคุม
               การเจริญเติบโตของวัชพืช รวมถึงการชะลางพังทลายของดิน ชวยปรับโครงสรางของดินและเพิ่มความอุดม

               สมบูรณใหแกดิน
                                               สงเสริมการผลิตกาแฟโรบัสตา ตามมาตรฐาน GAP  เพื่อเพิ่มผลผลิต

               ตอไร
                                               จัดอบรมใหชาวสวนกาแฟสามารถทําปุยอินทรียใชเอง การใชปุยสั่งตัด

               หรือการผสมปุยตามคาวิเคราะหดิน
                                               สนับสนุนสินเชื่อชาวสวนกาแฟรายยอยเพื่อประกอบอาชีพเสริม
                                      (3.3.2)  เขตปลูกกาแฟมีความเหมาะสมนอย เนื้อที่ 109 ไร เปนดินรวนปนทราย

               ดินรวนเหนียว ดินรวน ดินตื้นปนเศษหิน ลูกรัง ถึงลึกปานกลาง การระบายน้ําดี สภาพพื้นที่เปนลูกคลื่น
               ลอนชันถึงลาดชันปานกลาง ความลาดชัน 5 - 20 เปอรเซ็นต ความอุดมสมบูรณของดินต่ํา

                                     การจัดการ
                                     การจัดการเขตปลูกกาแฟมีความเหมาะสมนอย ยึดรูปแบบการจัดการเขตปลูกกาแฟ

               ที่มีความเหมาะสมปานกลาง ในการลดตนทุนการผลิต การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต และการขยายตลาด
               แตเนื่องจากพื้นที่เปนดินมีปญหา คือ เปนดินตื้นที่มีเศษหิน ลูกรังปะปน ดินบนพื้นที่ลาดชันปานกลาง

               ความลาดชัน 12 - 20 เปอรเซ็นต ความอุดมสมบูรณของดินต่ํา จึงมีแนวทางการจัดการเพิ่มเติม ดังนี้
   138   139   140   141   142   143   144   145   146   147   148