Page 147 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดสุราษฎร์ธานี
P. 147

4-29


                                      หลีกเลี่ยงการกําจัดวัชพืชโดยใชสารเคมี ควรใชวิธีการตัดแทน

                                (6.2)  เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต
                                      ประยุกตใชหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เกษตรทฤษฎีใหมตาม
               แนวพระราชดําริ ซึ่งเปนการใชที่ดินอยางมีประสิทธิภาพ เพื่อลดความเสี่ยงในการปลูกพืชชนิดเดียว เกษตร

               ผสมผสาน เกษตรอินทรียแบบมีสวนรวม (PGS) โดยปลูกพืชหลากหลายชนิด เชน พืชผักอินทรีย สมุนไพร
               ทําใหใหมีพืชหมุนเวียนในการเก็บผลผลิตเพื่อจําหนาย มีรายไดและหมุนเวียนตลอดป เพื่อลดความเสี่ยงของ

               ปริมาณผลผลิต ราคาผลผลิต และการตลาด
                                      สงเสริมการผลิตพืช ตามมาตรฐาน GAP เพื่อเพิ่มผลผลิตตอไร

                                      จัดอบรมใหเกษตรกรสามารถทําปุยอินทรียใชเอง การใชปุยสั่งตัด หรือการผสมปุย
               ตามคาวิเคราะหดิน

                                      สนับสนุนสินเชื่อเกษตรกรรายยอยเพื่อประกอบอาชีพเสริม
                                (6.3)  การขยายตลาด
                                      เกษตรกรตองเปนนักการเกษตรมืออาชีพ นักการตลาด พัฒนาขีดความสามารถ

               ในการจัดระบบการผลิตใหสอดคลองกับศักยภาพพื้นที่และความตองการของตลาด โดยการนําผลผลิตจาก
               ไรนาสวนผสมไปจําหนายใหกับผูบริโภคโดยตรง เพื่อเปนการประชาสัมพันธผลผลิตของเกษตรกรใหผูบริโภค

               ไดรับรู
                                      พัฒนาและสงเสริมใหเกษตรกรมีการรวมกลุม จัดตั้งกลุมวิสาหกิจชุมชน
               เพื่อบริหารจัดการดานการปลูก รวมกลุมกันซื้อปจจัยการผลิตดานการเกษตร  และการตลาด  ใหเกิด

               ความคุมคามากที่สุด  สรางความเขมแข็งของระบบการผลิตและการตลาด ใหเกษตรกรมีความสามารถ
               ในการตอรองการขายผลผลิต และการจัดหาปจจัยการผลิตเพื่อลดตนทุนการผลิต

                     4.1.3  เขตชุมชน เนื้อที่ 239,203  ไร หรือรอยละ 2.98 ของเนื้อที่จังหวัดสุราษฎรธานี กําหนดจาก
               การสํารวจสภาพการใชที่ดินจังหวัดสุราษฎรธานี ป 2561 โดย กลุมวิเคราะหสภาพการใชที่ดิน กองนโยบาย

               และแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน  เปนพื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสราง ยกเวน  พื้นที่อุตสาหกรรมราง
               นิคมอุตสาหกรรม โรงงานอุตสาหกรรม ลานตากและแหลงรับซื้อทางการเกษตร สถานีบริการน้ํามัน

                            การจัดการ
                            (1)  ศึกษา วิเคราะหปญหา ความตองการ และความรายแรงเรงดวนของแตละปญหา
               และความตองการของชุมชน แลวจัดลําดับปญหาและความตองการ โดยตองทําการแกไขปญหาที่รายแรง

               เรงดวนกอนปญหาอื่นๆ
                            (2)  ปองกันการพัฒนาชุมชนแบบไรทิศทาง หรือการพัฒนาชุมชนที่ไมสมดุล เพราะเนนแต

               เพียงการพัฒนาเศรษฐกิจ โดยเรงดําเนินการจัดทําผังเมืองรวมชุมชน เพื่อใชเปนพื้นฐาน และจุดเริ่มตนกําหนด
               แนวทางในการพัฒนาชุมชนใหมีมาตรฐานความเปนอยูที่ดี ชุมชนนาอยู สอดคลองกับสภาพแวดลอม

               มีการวางแผนหรือพัฒนาเมืองในอนาคต เพื่อรองรับการขยายตัวของชุมชน โดยกําหนดสัดสวนการใช
               ประโยชนจากที่ดินชุมชนอยางเปนระบบ มีทิศทางการเติบโตในอนาคต เกิดประโยชนสูงสุดอยางยั่งยืน สงผลดี

               ตอความเปนอยูของประชาชนใหมีคุณภาพชีวิตที่ดี ทั้งดานสังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดลอม
   142   143   144   145   146   147   148   149   150   151   152