Page 148 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดสุราษฎร์ธานี
P. 148

4-30


                            (3)  สงเสริม สนับสนุนใหประชาชน ภาคเอกชน องคกรปกครองสวนทองถิ่น หรือผูมีสวนได

               เสียทุกภาคสวน ตระหนักถึงความสําคัญของการวางผังเมือง และเขามามีสวนรวมในการจัดทําผังเมือง ตั้งแต
               เริ่มตน สามารถตัดสินใจกําหนดทิศทางหรือแนวทางการพัฒนาพื้นที่ของตนเองไดดวยการวางและจัดทําผัง
               โดยมีสํานักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัดเปนที่ปรึกษา ใหคําแนะนําและรวมดําเนินการอยางใกลชิด

                            (4)  จัดการน้ําเสีย และขยะจากชุมชน ภาคเกษตร และภาคอุตสาหกรรม
                            (5)  จัดทําโครงการ กิจกรรมในการปองกันปญหายาเสพติด

                            (6)  ปองกันและบรรเทาสาธารณภัย โดยจัดทําแผนปองกันและบรรเทาสาธารณภัย
               การจัดทําระบบแจงเตือนภัยแบบอัตโนมัติ

                     4.1.4  เขตอุสาหกรรม เนื้อที่ 27,137ไร หรือรอยละ 2.98 ของเนื้อที่จังหวัดสุราษฎรธานี กําหนดจาก
               การสํารวจสภาพการใชที่ดินจังหวัดสุราษฎรธานี ป 2561 โดย กลุมวิเคราะหสภาพการใชที่ดิน กองนโยบาย
               และแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน แบงเขตอุตสาหกรรมออกเปน 2 เขต คือ
                            (1)  เขตอุตสาหกรรมที่ดําเนินการในปจจุบัน เนื้อที่ 15,398 ไร  หรือรอยละ 0.19 ของเนื้อที่

               จังหวัดสุราษฎรธานี ประกอบดวยนิคมอุตสาหกรรม  โรงงานอุตสาหกรรม  ลานตากและแหลงรับซื้อ
               ทางการเกษตร สถานีบริการน้ํามัน
                                การจัดการ
                                (1.1)  สงเสริมการผลิตใหเปนไปตามมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม(มอก.)
               ซึ่งเปนประโยชนตอผูผลิต ชวยเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต ลดตนทุนการผลิต สินคามีคุณภาพดีสม่ําเสมอ

               ราคาถูกลง เพิ่มโอกาสทางการคา ในการจัดซื้อจัดจางของหนวยงานราชการที่มีการกําหนดใหสินคานั้นๆ ตองไดรับ
               ใบรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม ผูบริโภคไดสินคาคุณภาพดี ราคาเปนธรรม คุมคาการใชงาน
               มีความปลอดภัยในการนําไปบริโภคหรือใชงานในภาพรวม เปนการประหยัดทรัพยากรธรรมชาติหรือวัตถุดิบ
               ที่ใชในการผลิต สามารถใชใหเกิดประโยชนสูงสุด สรางความเขมแข็งใหกับภาคอุตสาหกรรมและเศรษฐกิจของ

               ประเทศ
                                (1.2)  มีมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม และมาตรการติดตาม
                 ตรวจสอบ คุณภาพสิ่งแวดลอม ดังนี้
                                      (1.2.1)  ลดปริมาณมลพิษทางอากาศ ลดการฟุงกระจายของฝุนละออง
               การปลอยทิ้งมลพิษทางน้ํา ขยะและกากของเสียอุตสาหกรรม ใหเปนไปตามขอกําหนดตามกฎหมายหรือดีกวา
                                      (1.2.3)  คุมการผลิตอยางเขมงวด เพื่อใหไดผลิตภัณฑอุตสาหกรรมที่มี

               คุณภาพดี  เขารวมโครงการอุตสาหกรรมสีเขียว  (Green  Industry Mark)  เพื่อสงเสริมภาคอุตสาหกรรม
               มีการปรับปรุงกระบวนการผลิตใหเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม มีความรับผิดชอบตอสังคม

                                      (1.2.4)  ปรับระบบการผลิตของภาคอุตสาหกรรมใหเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม
               ตลอดหวงโซอุปทานการผลิต โดยสนับสนุนดานสินเชื่อและสิทธิพิเศษดานภาษีใหกับอุตสาหกรรมที่มีการใช
               ทรัพยากรและพลังงานอยางมีประสิทธิภาพ


                                      (1.2.5)  ปรับนโยบายสงเสริมการลงทุนใหเอื้อสิทธิประโยชนมากขึ้นสําหรับ
               อุตสาหกรรมที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม และใหภาคอุตสาหกรรมสามารถอยูรวมกับชุมชนไดอยางมีความสุข
                                      (1.2.6)  ลดปริมาณมลพิษทางอากาศ ลดการฟุงกระจายของฝุนละออง
               การปลอยทิ้งมลพิษ ทางน้ํา ขยะและกากของเสียใหเปนไปตามขอกําหนดตามกฎหมายหรือดีกวา
   143   144   145   146   147   148   149   150   151   152   153