Page 150 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดสุราษฎร์ธานี
P. 150

4-32


                           (8)  เสริมสรางกลไก เครือขายองคกรการมีสวนรวมของทุกภาคสวน หนวยราชการ องคกร

               ปกครองสวนทองถิ่น องคกรพัฒนาเอกชน องคกรชุมชน และประชาชนในการบริหารจัดการทรัพยากรน้ํา
               ใหมีทางเลือกที่หลากหลาย ใหทุกภาคสวนเขาถึงทรัพยากรน้ําอยางเปนธรรม
                           (9)  เรงรัดสํารวจความตองการน้ําเพื่อการอุปโภคบริโภค และการเกษตร คัดเลือกเกษตรกร

               และพื้นที่ที่มีศักยภาพ เพื่อจัดสรางแหลงน้ําในไรนานอกเขตชลประทาน เปนการบรรเทาสภาพปญหาภัยแลง
               การขาดแคลนน้ํา เพิ่มประสิทธิภาพการกักเก็บน้ําในพื้นที่เกษตรกรรม

                           (10)  บํารุงรักษา ปรับปรุง และขุดลอกแหลงน้ําที่ตื้นเขิน เพื่อเพิ่มความจุในการกักเก็บน้ําสงเสริม
               สนับสนุนใหชุมชนทองถิ่นมีสิทธิในการมีสวนรวมจัดการแหลงน้ําในพื้นที่

                     4.1.6  เขตพื้นที่เฉพาะ เนื้อที่ 2,9024 ไร หรือรอยละ 0.03 ของเนื้อที่จังหวัดสุราษฎรธานี กําหนดจาก
               การสํารวจสภาพการใชที่ดินจังหวัดสุราษฎรธานี ป 2561 โดย กลุมวิเคราะหสภาพการใชที่ดิน กองนโยบาย

               และแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน เปนเขตฟนฟูเหมืองแรราง
                            การจัดการ
                            (1)  กําหนดแนวทางการฟนฟูเหมืองแรราง ควบคูไปกับการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ

               และสิ่งแวดลอม
                            (2)  เตรียมพื้นที่ฟนฟูเหมืองแรราง เพื่อดําเนินการปลูกตนไมในอนาคต เนื่องจากพื้นที่

               เหมืองแรรางสูญเสียหนาดิน ความอุดมสมบูรณของดินต่ํามากหรือไมมีเลย ตองนําดินมาปรับถม เพื่อใหตนไม
               เจริญเติบโตไดดี ควรเปนดินรวน มีคา pH  เปนกลาง และมีธาตุอาหารจําเปนตอการเจริญเติบโตของตนไม
               เตรียมพื้นที่ใหเสร็จและพรอมที่จะปลูกตนไมในชวงฤดูฝน เพื่อใหตนไมไดรับน้ําฝนเต็มที่ในชวงฤดูฝน ถาพื้นที่

               มีความลาดชัน ตองปรับลดความลาดชัน หรือปรับสภาพพื้นที่แบบขั้นบันได
                            (3)  ในชวงแรกของการฟนฟู ตองปองกันการชะลางพังทลายของดิน เพิ่มธาตุอาหาร

               คืนความอุดมสมบูรณใหดิน โดยปลูกพืชคลุมดิน
                            (4)  คัดเลือกชนิดพันธุไม ควรเปนพันธุไมที่เหมาะสมกับลักษณะเฉพาะของทองถิ่น

               เจริญเติบโตเร็ว สรางรมเงา มีผลกินได เปนอาหารของสัตวปา เพื่อใหดึงดูดสัตวปาเขามาในพื้นที่ฟนฟู
               เหมืองแรราง โดยเฉพาะสัตวกลุมนกและคางคาว ทําใหเกิดการแพรกระจายเมล็ดพันธุไม และตองสามารถ

               เพาะเมล็ดในเรือนเพาะชําไดงาย พบไดในปาดั้งเดิมบริเวณนั้น ๆ  เชน อีโปง เพกา ขี้เหล็กฤๅษี ตะเคียนหิน
               มะพลับทอง จันทนหอม
                            (5)  ควรสรางแหลงน้ําใหสัตวปาในพื้นที่ฟนฟูเหมืองแรราง

                            (6)  จัดตั้งศูนยเรียนรูการฟนฟูเหมืองแรราง เพื่อพัฒนาอาชีพเสริมในพื้นที่เหมืองแรราง
               ที่ไดรับการฟนฟู เชน การปลูกสมุนไพร

                     4.1.7  เขตพื้นที่อื่นๆ เนื้อที่ 39,101  ไร  หรือรอยละ  0.47 ของเนื้อที่จังหวัดสุราษฎรธานี กําหนดจาก
               การสํารวจสภาพการใชที่ดินจังหวัดสุราษฎรธานี ป 2561 โดยกลุมวิเคราะหสภาพการใชที่ดิน กองนโยบาย

               และแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน ประกอบดวยพื้นที่ลุม พื้นที่อุตสาหกรรมราง สนามกอลฟราง  พื้นที่
               กองวัสดุ หาดทราย และที่ทิ้งขยะ

                     แผนการใชที่ดินจังหวัดสุราษฎรธานี แสดงไวในตารางที่ 4 - 2 และรูปที่ 4 - 1
   145   146   147   148   149   150   151   152   153   154   155