Page 149 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดสุราษฎร์ธานี
P. 149

4-31


                            (2)  เขตอุตสาหกรรมเหมืองแร เนื้อที่ 11,739 ไร  หรือรอยละ 0.19 ของเนื้อที่จังหวัด
               สุราษฎรธานี ชนิดแรที่ไดประทานบัตรเหมืองแร คือ โดโลไมท หินอุตสาหกรรมชนิดหินปูนเพื่อการกอสราง

               ยิปซั่มและแอนไฮไดรต
                                การจัดการ
                                มีมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม และมาตรการติดตามตรวจสอบ
               คุณภาพสิ่งแวดลอม ดังนี้

                                (2.1)  ทําแนวกันชนเหมืองแร ฟนฟูสภาพพื้นที่ที่ใชทําเหมืองควบคูไปกับการทําเหมือง
               รักษาพืชพรรณที่มีอยูเดิม พรอมปลูกไมยืนตนโตเร็วทรงสูงที่เหมาะสมกับทองถิ่น พรอมดูแลรักษาตนไม
               ใหมีความเจริญเติบโต เพื่อเพิ่มพื้นที่สีเขียวในพื้นที่
                                (2.2)  สงเสริมความรู ความเขาใจในการทําเหมืองแร ใหกับชุมชนที่อยูใกลเคียง เพื่อลด
               ปญหาการตอตานของชุมชน และใหการประกอบอุตสาหกรรมแรเปนที่ยอมรับของสังคม  และเปนมิตรกับ

               สิ่งแวดลอม
                                (2.3)  สงเสริม สนับสนุนชุมชนในพื้นที่ใหมีความเขมแข็ง มีสวนรวมในการติดตาม
               ตรวจสอบและเฝาระวังคุณภาพสิ่งแวดลอมและการระบายมลพิษจากแหลงกําเนิดไดอยางตอเนื่อง
                     4.1.5  พื้นที่แหลงน้ํา เนื้อที่ 194,702 ไร หรือรอยละ 2.42 ของเนื้อที่จังหวัดสุราษฎรธานี กําหนดจาก

               การสํารวจสภาพการใชที่ดินจังหวัดสุราษฎรธานี ป 2561 โดยกลุมวิเคราะหสภาพการใชที่ดิน กองนโยบาย
               และแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน แบงพื้นที่แหลงน้ําออกเปน 2 เขตยอย คือ

                            (1)  พื้นที่แหลงน้ําตามธรรมชาติ เนื้อที่ 55,181 ไร หรือรอยละ 0.69 ของเนื้อที่จังหวัด
               สุราษฎรธานี ไดแก แมน้ําตาป แมน้ําพุมดวง ลําน้ํา ลําคลองตางๆ ทะเล
                            (2)  พื้นที่แหลงน้ําผิวดินที่สรางขึ้น เนื้อที่ 139,521 ไร หรือรอยละ 1.73 ของเนื้อที่จังหวัด

               สุราษฎรธานี ไดแก อางเก็บน้ําเขื่อนรัชชประภา บอน้ําในไรนา คลองชลประทาน
                            การจัดการ

                            (1)  สํารวจพื้นที่ กําหนดขอบเขตและจัดทําแนวเขตพื้นที่แหลงน้ําใหชัดเจน ถาเปนที่ดินของ
               รัฐ เรงรัดใหออกหนังสือสําคัญสําหรับที่หลวง

                            (2)  ฟนฟู และอนุรักษพื้นที่ตนน้ํา ควบคุม รักษาตนน้ําลําธาร ไมใหมีการตัดไมทําลายปา
               อยางเด็ดขาด พรอมทั้งปลูกปาบริเวณตนน้ําลําธาร ปองกันการชะลางพังทลายของดิน ซึ่งเปนสาเหตุ

               การตื้นเขินของแหลงน้ํา
                            (3)  ประกาศเขตพื้นที่คุมครองสิ่งแวดลอม  พื้นที่มีระบบนิเวศทางน้ําที่มีความอุดมสมบูรณ
               และ/หรือพื้นที่ที่มีแนวโนมถูกทําลาย เพื่อบังคับใชกฎหมายอยางเครงครัด

                           (4)  เฝาระวัง  ควบคุมและลดปริมาณน้ําทิ้งจากชุมชน  อุตสาหกรรมและเกษตรกรรม  ลงสูแหลงน้ํา
               เพื่อประโยชนในการใชอุปโภคบริโภค และการดํารงชีวิตของสัตวน้ํา

                           (5)  ปองกันการบุกรุกทําลายแหลงน้ําสาธารณะ สงวน  รักษาไวเปนแหลงเพาะพันธุสัตวน้ํา
               พืชอาศัย  แหลงอาหารของสัตวน้ํา เปนแหลงรับน้ําตามธรรมชาติที่กักเก็บและชะลอการไหลของน้ํา

               เพื่อปองกันน้ําทวมและภัยแลง
                           (6)  บํารุงรักษา ปรับปรุง และขุดลอกแหลงน้ําที่ตื้นเขิน  เพื่อเพิ่มความจุในการกักเก็บน้ําสงเสริม

               สนับสนุนใหชุมชนทองถิ่นมีสิทธิในการมีสวนรวมจัดการแหลงน้ําในพื้นที่
                           (7)  ควรมีการเพาะเลี้ยงสัตวน้ํา และปลอยสัตวน้ําวัยออนลงสูแหลงน้ําเปนประจําทุกป
   144   145   146   147   148   149   150   151   152   153   154