Page 138 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดสุราษฎร์ธานี
P. 138

4-20


                                                นําหลักการอนุรักษดินและน้ําเขามาปฏิบัติในพื้นที่อยางเขมขน

               โดยทําคันคูรอบเขาหรือ คันดินรับน้ํารอบเขา เพื่อระบายน้ํา ไมควรมีการไถพรวนในพื้นที่ ควรใชวิธีปลูก
               พืชแซมหรือพืชคลุมดินแถวทุเรียน เงาะ มังคุด แบบไมไถพรวน และใชปุยหมักบํารุงดินดวย
                                (3.2)  เขตปลูกปาลมน้ํามัน เนื้อที่ 1,542,132  ไรหรือรอยละ 19.13 ของเนื้อที่จังหวัด

               สุราษฎรธานี อยูในเขตเกษตรกรรมอาศัยน้ําฝนและเขตชลประทาน แบงเขตปลูกปาลมน้ํามันออกเปน 3 เขต
               คือ

                                       (3.2.1)  เขตปลูกปาลมน้ํามันที่มีความเหมาะสมมาก เนื้อที่ 47,224  ไร
               หรือรอยละ 0.59 ของเนื้อที่จังหวัดสุราษฎรธานี ลักษณะดิน เปนดินนายกรองปลูกปาลมน้ํามัน

               ในเขตโครงการชลประทานฝายคลองไชยา ฝายคลองทาทอง และฝายคลองเทวดา เนื้อดินเปนดินเหนียว
               ดินรวน ดินทรายแปง ดินลึกมาก การระบายน้ําดีปานกลางถึงดี สภาพพื้นที่ราบเรียบ 0 - 2 เปอรเซ็นต

               ความอุดมสมบูรณของดินต่ําถึงปานกลาง
                                       การจัดการ
                                       ในภาวะที่ผลผลิตตอไรของปาลมน้ํามันต่ํา ราคาไมมีเสถียรภาพ และรัฐมีนโยบาย

               ประกันรายไดเกษตรกรผูปลูกปาลมน้ํามัน ชาวสวนปาลมน้ํามันไมควรพึ่งพารายไดจากปาลมน้ํามัน
               เพียงอยางเดียว ควรปรับเปลี่ยนวิถีการทําสวนปาลมน้ํามันใหสอดคลองกับสถานการณ เพื่อใหเกิดการกระจาย

               รายไดไปยังกิจกรรมตางๆ อยางตอเนื่อง จึงมีแนวทางการเลือกการจัดการสวนปาลมน้ํามัน ดังนี้
                                       (3.2.1.1)  ใชเทคโนโลยีลดตนทุนการผลิตและลดผลกระทบสิ่งแวดลอม
               โดยการปรับปรุงบํารุงดินเพื่อฟนฟูความอุดมสมบูรณของดิน ใหมีธาตุอาหารอยางเพียงพอกับปาลมน้ํามัน

               เพิ่มอินทรียวัตถุใหกับดินอยางตอเนื่อง ปองกันและหลีกเลี่ยงการกอมวลพิษใหกับสิ่งแวดลอม โดยการลดใช
               สารเคมี ดังนี้

                                                 สงเสริมการใชปุยอยางมีประสิทธิภาพ โดยผสมปุยใชเอง ใสปุย
               ใหเหมาะสมกับสภาพพื้นที่ ถูกตองกับชวงเวลาการเจริญเติบโตของปาลมน้ํามัน  เพื่อลดการสูญเสียปุย

               หรือเกินความตองการของปาลมน้ํามัน โดยวิเคราะหปริมาณธาตุอาหารในดินและจากใบปาลมน้ํามัน
               คาความเปนกรดเปนดางของดิน ซึ่งเปนสิ่งแรกที่สําคัญอยางยิ่ง กอนการใสปุยตามชวงเวลาการเจริญเติบโต

               พื้นที่ที่เปนดินกรด ปรับปรุงโดยใสปูนโดโลไมท
                                                 สงเสริมการใชสารอินทรียรวมกับปุยเคมี และสารเคมีที่มีราคาแพง
               โดยใชผลิตภัณฑจุลินทรียของกรมพัฒนาที่ดิน เชน  ผลิตปุยหมักใชเองจากวัสดุที่มีในทองถิ่น เชน ทะลาย

               ปาลมน้ํามันเปลา เศษวัสดุจากการหีบปาลมน้ํามัน (ขี้เคก) ดวยสารเรงซูปเปอร พด.1 ปุยอินทรียคุณภาพสูง
               สูตรกรมพัฒนาที่ดิน ปุยชีวภาพ พด. 12 รวมกับปุยเคมี ผลิตน้ําหมักชีวภาพดวยสารเรงซูปเปอร พด.2

               เพื่อราดโคนตน ปลูกพืชปุยสดในสวนปาลมน้ํามัน เชน ถั่วพรา โดยคลุกเมล็ดถั่วพราดวยจุลินทรียสําหรับ
               พืชปรับปรุงบํารุงดิน พด.11 (ถั่วพรา) ชวยเพิ่มธาตุอาหารในดินใหปาลมน้ํามันไดรับประโยชนไปดวย

                                                 หลีกเลี่ยงการกําจัดวัชพืชโดยใชสารเคมี ควรใชวิธีการตัดแทน
                                         (3.2.1.2)  เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต

                                                 สงเสริมการปลูกปาลมน้ํามันพันธุดี เลือกใชพันธุปาลมน้ํามันลูกผสม
               เทเนอราพันธุดี ที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ปลูก และซื้อจากแหลงที่เชื่อถือได อาทิ พันธุปาลมน้ํามันลูกผสม
   133   134   135   136   137   138   139   140   141   142   143