Page 133 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดสุราษฎร์ธานี
P. 133

4-15


               และการตลาดใหเกิดความคุมคามากที่สุด  สรางความเขมแข็งของระบบการผลิตและการตลาดใหชาวสวน

               มะพราวและสินคาเกษตรอินทรียมีความสามารถในการตอรองการขายผลผลิตและการจัดหาปจจัยการผลิต
               เพื่อลดตนทุนการผลิต
                                      (2.2.2)  เขตปลูกมะพราวที่มีความเหมาะสมนอย      เนื้อที่ 70,045   ไร

               หรือรอยละ 0.87 ของเนื้อที่จังหวัดสุราษฎรธานี ลักษณะดิน เปนดินทรายจัด ดินทรายจัดที่พบ
               ชั้นดานอินทรียแข็งภายในความลึก 100 เซนติเมตร ดินเปรี้ยวจัดและดินเค็มชายทะเลยกรองปลูกมะพราว

               ดินลึกปานกลางถึงลึกมาก การระบายน้ําคอนขางมากถึงดี สภาพพื้นที่ราบเรียบถึงลาดชันปานกลาง
               ความลาดชัน 0 - 20 เปอรเซ็นต ความอุดมสมบูรณของดินต่ํา

                                      การจัดการ
                                      การจัดการเขตปลูกมะพราวที่มีความเหมาะสมนอย ยึดรูปแบบการจัดการ

               เขตปลูกมะพราวที่มีความเหมาะสมปานกลาง ในการลดตนทุนการผลิต การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต
               และการขยายตลาด แตเนื่องจากพื้นที่เปนดินมีปญหา คือ เปนดินทรายจัด ดินทรายจัดที่พบ
               ชั้นดานอินทรียแข็งภายในความลึก 100 เซนติเมตร ดินเปรี้ยวจัดและดินเค็มชายทะเลยกรองปลูกมะพราว

               และดินบนพื้นที่ลาดชันปานกลาง มีความลาดชัน 12 - 20 เปอรเซ็นต จึงมีแนวทางการจัดการเพิ่มเติม ดังนี้
                                      (2.2.2.1)  ดินทรายจัด  ดินทรายจัดที่พบชั้นดานอินทรียแข็งภายในความลึก

               100 เซนติเมตร
                                                เก็บตัวอยางดินวิเคราะห  วัดคาความเปนกรดเปนดางของดิน (pH)
               วิเคราะหปริมาณธาตุอาหาร ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม เพื่อนําไปหาอัตราปุยที่ตองใช

                                                ปรับปรุงบํารุงดินและเพิ่มความอุดมสมบูรณของดินดวยอินทรียวัตถุ
               เชน ปุยหมัก ปุยคอก หรือปลูกพืชตระกูลถั่ว แลวไถกลบเปนปุยพืชสด เพื่อเพิ่มความสามารถในการดูดซับ

               ธาตุอาหารพืชและความสามารถในการอุมน้ําแกดิน ปรับปรุงสมบัติทางกายภาพของดินทําใหดินมีการเกาะยึด
               ตัวดีขึ้น.........

                                                การอนุรักษดินและน้ําที่เหมาะสม ปลูกพืชคลุมดินเพื่อปองกัน
               การชะลางพังทลายของดิน การใชวัสดุคลุมดินเพื่อปองกันการระเหยของน้ําและรักษาความชื้นไวในดิน .........

                                                จัดการน้ําที่เหมาะสม เพื่อใหการใชน้ําเปนไปอยางประหยัด
               และมีประสิทธิภาพ เชน การใหน้ําแบบหยด เปนตน หรือขุดสระเพื่อเก็บน้ําไวใชในชวงที่พืชขาดน้ํา
                                                ใสปุยเคมีตามคาวิเคราะหดิน ควรเปนปุยเคมีที่ละลายชา แบงใส

               ครั้งละนอยๆ ใสในขณะที่ดินมีความชื้นเหมาะสม และควรใชรวมกับปุยอินทรีย
                                      (2.2.2.3)  ดินเปรี้ยวจัด

                                                เก็บตัวอยางดินวิเคราะห วัดคาความเปนกรดเปนดางของดิน (pH)
               ดินเปนกรดรุนแรงมากหรือนอย หาคาความตองการปูนของดิน วิเคราะหปริมาณธาตุอาหาร ไนโตรเจน

               ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม เพื่อนําไปหาอัตราปุยที่ตองใช
                                                ปรับปรุงแกไขความเปนกรดของดินดวยวัสดุปูนโดโลไมต อัตราตาม

               ความตองการปูนของดิน หรือปริมาณ 2  ตันตอไร เพื่อปรับคา pH  ใหอยูในชวงที่เหมาะสม โดยหวานปูน
   128   129   130   131   132   133   134   135   136   137   138