Page 130 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดสุราษฎร์ธานี
P. 130

4-12


                                      (2.1.2)  เขตปลูกทุเรียน เงาะ มังคุดที่มีความเหมาะสมนอย เนื้อที่ 19,303  ไร

               หรือรอยละ 0.24 ของเนื้อที่จังหวัดสุราษฎรธานี  ลักษณะดิน  เปนดินทรายจัด ดินทรายจัด   ที่พบชั้นดาน
               อินทรียแข็งภายในความลึก 100 เซนติเมตร เปนดินตื้นที่มีเศษหิน ลูกรังปะปน หรือตื้นถึง หินพื้น บางพื้นที่เปน
               ดินเปรี้ยวจัด หรือดินเค็มชายทะเลยกรองปลูกทุเรียน เงาะ มังคุด สภาพพื้นที่ราบเรียบถึงสูงชัน ความลาดชัน

               0 - 35 เปอรเซ็นต ความอุดมสมบูรณของดินต่ํา
                                      การจัดการ

                                      การจัดการเขตปลูกทุเรียน เงาะ มังคุดที่มีความเหมาะสมนอย ยึดรูปแบบ
               การจัดการเขตปลูกทุเรียน เงาะ มังคุดที่มีความเหมาะสมปานกลาง ในการลดตนทุนการผลิต การเพิ่ม

               ประสิทธิภาพการผลิต และการขยายตลาด แตเนื่องจากพื้นที่เปนดินมีปญหา คือ เปนดินตื้น ดินทรายจัด
               ดินทรายจัดที่พบชั้นดานอินทรียแข็งภายในความลึก 100 เซนติเมตร ดินเปรี้ยวจัด  และดินเค็มชายทะเล

               ยกรองปลูกทุเรียน เงาะ มังคุด และดินบนพื้นที่สูงชัน ความลาดชัน 20 - 35 เปอรเซ็นต จึงมีแนวทาง
               การจัดการเพิ่มเติม ดังนี้
                                      (2.1.2.1)  ดินตื้น

                                                เก็บตัวอยางดินวิเคราะห  วัดคาความเปนกรดเปนดางของดิน (pH)
               วิเคราะหปริมาณธาตุอาหาร ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม เพื่อนําไปหาอัตราปุยที่ตองใช

                                                มีการเขตกรรมที่เหมาะสม ไถพรวนดินใหนอยที่สุดเพื่อปองกัน
               การชะลางพังทลายของดิน.........
                                                ปรับปรุงบํารุงดินเพิ่มความอุดมสมบูรณของดิน โดยใชปุยอินทรีย

               ไดแก ปุยหมัก ปุยคอก หรือปลูกพืชตระกูลถั่ว แลวไถกลบเพื่อเพิ่มความสามารถในการดูดซับธาตุอาหาร
               และน้ําใหแกดิน และใชปุยเคมีรวม

               .........                        จัดหาแหลงน้ําใหพอเพียงกับการเพาะปลูก และมีการใหน้ําอยางมี
               ประสิทธิภาพ เชน ใหน้ําแบบหยด และใชวัสดุคลุมดินเพื่อปองกันการระเหยของน้ําและเก็บรักษาความชื้นใน

               ดิน
                                      (2.1.2.2)  ดินทรายจัด  ดินทรายจัดที่พบชั้นดานอินทรียแข็งภายในความลึก

               100 เซนติเมตร
                                                เก็บตัวอยางดินวิเคราะห  วัดคาความเปนกรดเปนดางของดิน (pH)
               วิเคราะหปริมาณธาตุอาหาร ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม เพื่อนําไปหาอัตราปุยที่ตองใช

                                                ปรับ ปรุง บํารุ งดิน และเพิ่ มคว ามอุ ดมส มบูร ณของดิ น
               ดวยอินทรียวัตถุ เชน ปุยหมัก ปุยคอก หรือปลูกพืชตระกูลถั่ว แลวไถกลบเปนปุยพืชสด เพื่อเพิ่มความสามารถ

               ในการดูดซับธาตุอาหารพืช และความสามารถในการอุมน้ําแกดิน ปรับปรุงสมบัติทางกายภาพของดินทําใหดิน
               มีการเกาะยึดตัวดีขึ้น.........

                                                การอนุรักษดินและน้ําที่เหมาะสม ปลูกพืชคลุมดินเพื่อปองกัน
               การชะลางพังทลายของดิน การใชวัสดุคลุมดินเพื่อปองกันการระเหยของน้ําและรักษาความชื้นไวในดิน .........

                                                จัดการน้ําที่เหมาะสม เพื่อใหการใชน้ําเปนไปอยางประหยัด
               และมีประสิทธิภาพ เชน การใหน้ําแบบหยด เปนตน หรือขุดสระเพื่อเก็บน้ําไวใชในชวงที่พืชขาดน้ํา
   125   126   127   128   129   130   131   132   133   134   135