Page 126 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดสุราษฎร์ธานี
P. 126

4-8


               มีการวางแผนการผลิตขาว พืชหลังการเก็บเกี่ยวขาว สินคาเกษตรอินทรีย และเพิ่มชองทางการตลาด

               ไวลวงหนา โดยการนําผลผลิตสินคาไปจําหนายใหกับผูบริโภคโดยตรง  เพื่อเปนการประชาสัมพันธผลผลิต
               ของเกษตรกรใหผูบริโภคไดรับรู
                                                 พัฒนาและสงเสริมใหชาวนามีการรวมกลุม จัดตั้งกลุมวิสาหกิจชุมชน

               เพื่อบริหารจัดการดานการปลูก รวมกลุมกันซื้อปจจัยการผลิตดานการเกษตร และการตลาดใหเกิดความคุมคา
               มากที่สุด  สรางความเขมแข็งของระบบการผลิตและการตลาดใหขาว พืชหลังการเก็บเกี่ยวขาว และสินคา

               เกษตรอินทรีย ใหมีความสามารถในการตอรองการขายผลผลิต และการจัดหาปจจัยการผลิต เพื่อลดตนทุน
               การผลิต

                                                 ประชาสัมพันธ และสงเสริมการบริโภคสินคาเกษตรอินทรีย
                                                 สงเสริมนวัตกรรมในการแปรรูปขาวเพื่อเพิ่มมูลคา

                                       (1.1.2)  เขตทํานาที่มีความเหมาะสมปานกลาง เนื้อที่ 4,025 ไร
               หรือรอยละ 0.05 ของเนื้อที่จังหวัดสุราษฎรธานี เปนเขตทํานาในพื้นที่ราบลุม ในเขตเกษตรกรรมอาศัยน้ําฝน
               บางพื้นที่เปนดินเปรี้ยวจัดในเขตชลประทานโครงการฝายคลองไชยา ลักษณะดิน เปนดินเหนียว ดินรวน

               ดินรวนเหนียว ดินรวนเหนียวปนทรายแปง ดินทรายแปง ดินลึกมาก การระบายน้ําคอนขางเลวถึงเลว
               สภาพพื้นที่ราบเรียบ ความลาดชัน 0 - 2 เปอรเซ็นต ความอุดมสมบูรณของดินต่ําถึงปานกลาง

                                       การจัดการ
                                       การจัดการเขตทํานาที่มีความเหมาะสมปานกลาง ยึดรูปแบบการจัดการ
               เขตทํานาที่มีความเหมาะสมมาก ในการลดตนทุนการผลิต การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต และการขยายตลาด

               แตเนื่องจากอยูในเขตเกษตรกรรมอาศัยน้ําฝน และบางพื้นที่เปนดินเปรี้ยวจัด จึงมีการจัดการเพิ่มเติม ดังนี้
                                        (1.1.2.1)  เขตทํานาที่มีความเหมาะสมปานกลางที่เปนดินดินเปรี้ยวจัด

               ในเขตชลประทานโครงการฝายคลองไชยา
                                                 เลือกใชพันธุขาวทนดินเปรี้ยวจัด

                                                 ควบคุมน้ําเพื่อปองกันการเกิดกรดของดิน การลางกรดออกจากดิน
               ดวยน้ําชลประทาน ปลอยใหน้ําขังแชในแปลงนาไมนอยกวา 2 สัปดาห จะชวยลดความเปนกรดของดิน

                                                 เก็บตัวอยางดินวิเคราะห วัดคาความเปนกรดเปนดางของดิน (pH)
               ดินเปนกรดรุนแรงมากหรือนอย หาคาความตองการปูนของดิน ใสวัสดุปูนปรับปรุงดินตามอัตราที่กําหนด
               (ตามคาความตองการปูนของดิน) วิเคราะหปริมาณธาตุอาหารไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม เพื่อนําไป

               หาอัตราปุยที่ตองใช
                                                 ไถกลบตอซังขาวและฟางขาวหลังเก็บเกี่ยวขาว เพื่อปลูกพืช

               หลังการเก็บเกี่ยวขาว
                                       (1.1.2.2)  เขตทํานาที่มีความเหมาะสมปานกลางในเขตเกษตรกรรมอาศัยน้ําฝน

                                                 ไถกลบตอซังขาวและฟางขาว จัดหาแหลงน้ํา เพื่อปลูกพืช
               หลังการเก็บเกี่ยวขาว

                                       (1.1.3)  เขตทํานาที่มีความเหมาะสมนอย เนื้อที่ 1,097  หรือรอยละ 0.01
               ของเนื้อที่จังหวัดสุราษฎรธานี เปนเขตทํานาในดินเปรี้ยวจัด ในเขตเกษตรกรรมอาศัยน้ําฝน ลักษณะดิน
   121   122   123   124   125   126   127   128   129   130   131