Page 123 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดสุราษฎร์ธานี
P. 123

4-5


                                      (2.2.3)  หนวยราชการดําเนินการปลูกปาในพื้นที่ปาเสื่อมโทรม ดําเนินการ

               ตามมาตรการบํารุงรักษาอยางจริงจังและตอเนื่อง ควบคุม ดูแล รักษาทรัพยากรปาไมไมใหถูกรบกวน เพื่อให
               สภาพปากลับคืนสูธรรมชาติ
                                      (2.2.4)  นอมนําแนวพระราชดําริ แนวทางการมีสวนรวม และหลักวิชาการ

               ที่เหมาะสมกับปญหา ภูมินิเวศ สอดคลองกับวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถิ่นของแตละพื้นที่ มาใชประโยชน
               ในการฟนฟูปาเสื่อมโทรม

                                      (2.2.5)  สงเสริม และสนับสนุนชุมชนทองถิ่นเขามามีสวนรวมในการฟนฟู
               ปาเสื่อมโทรม สรางเครือขายชุมชนโดยรอบพื้นที่ฟนฟูปาเสื่อมโทรม

                                      (2.2.6)  สงเสริมภาคเอกชนที่ดําเนินกิจกรรมเกี่ยวกับความรับผิดชอบตอสังคม
               (Corporate  Social Responsibility; CSR) ใหเขามามีสวนรวมดําเนินกิจกรรมดานฟนฟูปาเสื่อมโทรม

               ใหมากขึ้น
                                      (2.2.7)  อนุญาตใหเอกชนหรือประชาชนเขามาทําประโยชนเพื่อปลูกปา
               หรือดําเนินกิจกรรมการฟนฟูปาเสื่อมโทรม

                               (2.3)  เขตฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติภายใตเงื่อนไข  2  เนื้อที่ 130,897 ไร หรือรอยละ 1.63
               ของเนื้อที่จังหวัดสุราษฎรธานี พื้นที่ในเขตนี้มีลักษณะเดียวกับเขตบํารุงรักษาสภาพปาในอดีต ตอมา มีการบุกรุก

               ทําลายปาเพื่อทําการเกษตรจนถึงปจจุบัน
                                      การจัดการ
                                      (2.3.1)  กําหนดนโยบายใหการแกไขปญหาเรื่องการบุกรุกพื้นที่ปาไม

               และการตัดไมทําลายปาเปน “วาระแหงชาติ” เพื่อปลุกจิตสํานึกของคนในชาติ ใหเห็นความสําคัญของทรัพยากรปา
               ไม และใหหนวยงานทั้งภาครัฐ เอกชน เขามามีสวนรวมในการแกไขปญหา และกําหนดนโยบายตางๆ ใหเปน

               แนวทางเดียวกัน
                                      (2.3.2)  ดําเนินการแกไขการบุกรุกปาไม โดยใชแนวทางตามมติคณะรัฐมนตรี

               เมื่อ วันที่ 26 พฤศจิกายน 2561 เรื่อง พื้นที่เปาหมายและกรอบมาตรการแกไขปญหาการอยูอาศัย และทํากิน
               ในพื้นที่ปาสงวนแหงชาติ มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๓๐ มิถุนายน 2541    เรื่อง การแกไขปญหาที่ดินในพื้นที่

               ปาไม หรือตามคําสั่งคณะรักษาความสงบแหงชาติ ที่ 66/2557 เรื่อง เพิ่มเติมหนวยงานสําหรับการปราบปราม
               หยุดยั้งการบุกรุก  ทําลายทรัพยากรปาไมและนโยบายการปฏิบัติงานเปนการชั่วคราวในสภาวการณปจจุบัน
               ลงวันที่ 17 มิถุนายน 2557

                                      (2.3.3)  พื้นที่ในเขตนี้ถูกบุกรุกทําลายปาเพื่อทําการเกษตร ใหดําเนินการปลูก
               ปาทดแทน โดยกําหนดชนิดพันธุไมที่เหมาะสม

                           (3)  เขตคงสภาพปานอกเขตปาไมตามกฎหมายและมติคณะรัฐมนตรี เนื้อที่ 71,507 ไร
               หรือรอยละ 0.89 ของเนื้อที่จังหวัดสุราษฎรธานี สภาพปาเปนปาสมบูรณ ปารอสภาพฟนฟู ที่อยูนอกเขตปาไม
               ตามกฎหมายและมติคณะรัฐมนตรี  โดยอยูในที่ดินของรัฐและเอกชน  เชน  เขตปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

               นิคมสหกรณ  ที่สาธารณประโยชนที่มีสภาพเปนปาชุมชน  สวนปาเอกชน  แบงเขตคงสภาพปานอกเขตปาไม
               ตามกฎหมายและมติคณะรัฐมนตรีออกเปน 2 เขตยอย คือ
                               (3.1)  เขตปาสมบูรณ เนื้อที่ 60,415    ไร หรือรอยละ 0.75 ของเนื้อที่จังหวัด
               สุราษฎรธานี สภาพปาในปจจุบันเปนปาสมบูรณ ประกอบดวยปาไมผลัดใบ ปาชายเลน ปาพรุ และปาปลูก
   118   119   120   121   122   123   124   125   126   127   128