Page 121 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดสุราษฎร์ธานี
P. 121

4-3


                                      (1.2.5)  สงเสริมภาคเอกชนที่ดําเนินกิจกรรมเกี่ยวกับความรับผิดชอบตอสังคม

               (Corporate  Social Responsibility; CSR) ใหเขามามีสวนรวมดําเนินกิจกรรมดานฟนฟูปาเสื่อมโทรม
               ใหมากขึ้น
                                      (1.2.6)  สงเสริม และสนับสนุนชุมชนทองถิ่นเขามามีสวนรวมในการฟนฟู

               ปาเสื่อมโทรม
                                      (1.2.7)  สรางเครือขายชุมชนโดยรอบพื้นที่เพื่อฟนฟูปาเสื่อมโทรม

                                      (1.2.8)  อนุญาตใหเอกชนหรือประชาชนเขามาทําประโยชนเพื่อปลูกปา
               หรือดําเนินกิจกรรมการฟนฟูปาเสื่อมโทรม

                               (1.3)  เขตฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติภายใตเงื่อนไข 1 เนื้อที่ 479,421 ไร หรือรอยละ 5.95
               ของเนื้อที่จังหวัดสุราษฎรธานี เปนเขตการใชที่ดินที่จะสงผลใหเกิดความวิกฤต และผลกระทบ

               ทางสิ่งแวดลอมอยางรุนแรงในเขตพื้นที่ตนน้ํา สงผลกระทบตอพื้นที่กลางน้ํา และพื้นที่ปลายน้ําในอนาคต
               เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงการใชที่ดินที่ไมเหมาะสม พื้นที่ในเขตนี้มีลักษณะเดียวกับเขตคุมครองสภาพปาในอดีต
               แตมีการทําการเกษตรในปจจุบัน จึงเกิดการชะลางพังทลายของดิน และไมเหมาะสมตอการทําการเกษตร

               สงผลกระทบตอสิ่งแวดลอม และกอใหเกิดดินถลม น้ําปาไหลหลากเขาทวมพื้นที่ที่อยูอาศัย และพื้นที่
               เกษตรกรรมในพื้นที่ปลายน้ํา สรางความเสียหายดานเศรษฐกิจ การปนเปอนของสารเคมีทางการเกษตร

               สรางความวิกฤตใหกับพื้นที่เพิ่มขึ้นอีก ตองเรงดําเนินการฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่อยางเรงดวน
               นอกจากนี้ การใชประโยชนที่ดินทางการเกษตร เกษตรกรมีตนทุนการผลิตสูง ผลผลิตต่ํา จําหนายผลผลิตไดใน
               ราคานอย เกษตรกรจึงขาดทุน ทําใหตองบุกรุกพื้นที่ปาไมตอไปอยางไมจบสิ้น เพื่อเพิ่มพื้นที่สําหรับการสราง

               รายไดใหเพียงพอ
                                      การจัดการ

                                      (1.3.1)  กําหนดนโยบายใหการแกไขปญหาเรื่องการบุกรุกพื้นที่ปาไม
               และการตัดไมทําลายปาเปน “วาระแหงชาติ”      เพื่อปลุกจิตสํานึกของคนในชาติใหเห็นความสําคัญ

               ของทรัพยากรปาไม และสิ่งแวดลอม ใหหนวยงานทั้งภาครัฐ เอกชน เขามามีสวนรวมในการแกไขปญหา
               และกําหนดนโยบายตางๆ ใหเปนแนวทางเดียวกัน

                                      (1.3.2)  ดําเนินการแกไขการบุกรุกพื้นที่ปาไม โดยใชแนวทางตาม
               มติคณะรัฐมนตรี เมื่อ วันที่ 26 พฤศจิกายน 2561 เรื่อง พื้นที่เปาหมายและกรอบมาตรการแกไขปญหาการอยู
               อาศัยและทํากินในพื้นที่ปาไม (ทุกประเภท) พระราชบัญญัติอุทยานแหงชาติ พ.ศ. 2562 มาตรา 64

               พระราชบัญญัติสงวนและคุมครองสัตวปา พ.ศ. 2562 มาตรา 121 มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่  ๓๐ มิถุนายน
               2541 เรื่อง การแกไขปญหาที่ดินในพื้นที่ปาไม หรือตามคําสั่งคณะรักษาความสงบแหงชาติ   ที่ 66/2557

               เรื่อง เพิ่มเติมหนวยงานสําหรับการปราบปราม หยุดยั้งการบุกรุก  ทําลายทรัพยากรปาไมและนโยบาย
               การปฏิบัติงานเปนการชั่วคราวในสภาวการณปจจุบัน ลงวันที่ 17 มิถุนายน 2557

                                      (1.3.3)  พื้นที่ในเขตนี้ถูกบุกรุกทําลายปาเพื่อทําการเกษตร ใหดําเนินการปลูก
               ปาทดแทน โดยกําหนดชนิดพันธุไมที่เหมาะสม

                           (2)  เขตพื้นที่ปาเศรษฐกิจ   เนื้อที่ 170,202 ไร หรือรอยละ 2.11 ของเนื้อที่จังหวัด
               สุราษฎรธานี พื้นที่ในเขตนี้เปนเขตพื้นที่ปาเพื่อเศรษฐกิจ  (โซน  E)  ในเขตปาสงวนแหงชาติ ปาไมถาวรตาม
   116   117   118   119   120   121   122   123   124   125   126