Page 124 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดสุราษฎร์ธานี
P. 124

4-6


                                      การจัดการ

                                      (3.1.1) สงวน  คุมครองพื้นที่ปาสมบูรณในที่ดินของรัฐ  ประกาศเขตพื้นที่คุมครอง
               สิ่งแวดลอม พื้นที่มีระบบนิเวศที่มีความอุดมสมบูรณ และ/หรือพื้นที่ที่มีแนวโนมถูกทําลายเพื่อบังคับใชกฎหมาย
               อยางเครงครัด สงเสริมการจัดตั้งปาชุมชน ตามพระราชบัญญัติปาชุมชน พ.ศ. 2562

                                      (3.1.2)  พื้นที่ปาสงวนแหงชาติ  โซน  A  และ  โซน  E  ที่สงมอบใหสํานักงาน
               การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ควรดําเนินการเรงรัดกันพื้นที่ที่ไมควรนําไปปฏิรูปที่ดินคืนกรมปาไมโดยเร็ว

                                      (3.1.3)  จัดระบบการปลูกไมเศรษฐกิจ หรือสวนปาเศรษฐกิจเพื่อทดแทน
               ความตองการและลดการบุกรุกตัดไมทําลายปา  เชน  สงเสริมกิจกรรมเชิงพาณิชยในการใชประโยชน จาก

               ไมยืนตน หรือปาสมบูรณในพื้นที่ที่มีเอกสารสิทธิที่ถูกตองตามกฎหมาย
                                      (3.1.3)  กรมปาไมเรงจัดทํายุทธศาสตรเพื่อจูงใจพอที่จะสงเสริมใหเกิด

               การปลูกไมเศรษฐกิจ หรือสวนปาเศรษฐกิจในที่ดินนอกเขตปาไมตามกฎหมายและมติคณะรัฐมนตรี  เชน
               โฉนดที่ดิน  หนังรับรองการเขาทําประโยชน  ส.ป.ก. 4-01  เชน  ในรูปแบบวนเกษตร  ปลูกปา  3  อยาง
               ไดประโยชน  4  อยาง  ซึ่งนอกจากไดประโยชนทางเศรษฐกิจ  รักษาสิ่งแวดลอมแลว  จะทําใหเปาหมาย

               การเพิ่มพื้นที่ปาไมใหไดรอยละ 40 ของภาครัฐใกลเคียงความเปนจริงมากขึ้น
                                      (3.1.4)  เรงรัดจัดทําพระราชบัญญัติการสงเสริมไมเศรษฐกิจนอกเขตปาไมตาม

               กฎหมายและมติคณะรัฐมนตรี
                               (3.2)  เขตฟนฟูสภาพปา เนื้อที่ 11,092   ไร หรือรอยละ 0.14 ของเนื้อที่จังหวัด
               สุราษฎรธานี สภาพปาในปจจุบันเปนปารอสภาพฟนฟู ประกอบดวยปาไมผลัดใบรอสภาพฟนฟู

               ปาชายเลนรอสภาพฟนฟู ปาพรุรอสภาพฟนฟู
                                      การจัดการ

                                      (3.2.1)  หนวยราชการดําเนินการปลูกปาในพื้นที่ปารอสภาพฟนฟู ดําเนินการตาม
               มาตรการบํารุงรักษาอยางจริงจังและตอเนื่อง ควบคุม ดูแล รักษาทรัพยากรปาไมไมใหถูกรบกวน เพื่อใหสภาพปา

               กลับคืนสูธรรมชาติ
                                      (3.2.1)  สงเสริม และสนับสนุนชุมชนทองถิ่นเขามามีสวนรวมในการฟนฟู

               ปารอสภาพฟนฟู สรางเครือขายชุมชนโดยรอบพื้นที่เพื่อฟนฟูปารอสภาพฟนฟู
                     4.1.2  เขตเกษตรกรรม เนื้อที่ 4,510,918  ไร หรือรอยละ 55.98 ของเนื้อที่จังหวัดสุราษฎรธานี
               เปนพื้นที่นอกเขตปาไมตามกฎหมายและมติคณะรัฐมนตรี พื้นที่ลุมน้ําชั้นที่ 1 และชั้นที่ 2 อยูใน

               เขตเกษตรกรรมอาศัยน้ําฝนและเขตชลประทาน มีการทํานา ปลูกยางพารา ปาลมน้ํามัน ทุเรียน เงาะ มังคุด
               มะพราว เพาะเลี้ยงสัตวน้ํา เปนสวนใหญ แบงเขตเกษตรกรรมออกเปน 6 เขต คือ

                            (1)  เขตทํานา เนื้อที่ 26,125 ไร หรือรอยละ 0.32 ของเนื้อที่จังหวัดสุราษฎรธานี ปจจุบัน
               มีการทํานา และเปนพื้นที่นาราง แบงเขตทํานาออกเปน 2 เขต คือ

                                (1.1)  เขตทํานาในปจจุบัน เนื้อที่ 8,605  ไร หรือรอยละ 0.10 ของเนื้อที่จังหวัด
               สุราษฎรธานี แบงเขตทํานาในปจจุบันออกเปน 3 เขต คือ

                                        (1.1.1)  เขตทํานาที่มีความเหมาะสมมาก เนื้อที่ 3,483  ไร หรือรอยละ 0.04
               ของเนื้อที่จังหวัดสุราษฎรธานี เปนเขตทํานาในพื้นที่ราบลุม ในเขตชลประทานโครงการฝายคลองไชยา
   119   120   121   122   123   124   125   126   127   128   129