Page 122 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดสุราษฎร์ธานี
P. 122

4-4


               มติคณะรัฐมนตรี และอยูนอกเขตพื้นที่ลุมน้ําชั้นที่ 1 และชั้นที่ 2 สภาพปาเปนปาสมบูรณ ปารอสภาพฟนฟู

               ตลอดจนพื้นที่ทําการเกษตร แนวทางการจัดการพื้นที่คลายคลึงกับเขตพื้นที่ปาอนุรักษ แบงเขตพื้นที่
               ปาเศรษฐกิจออกเปน 3 เขตยอย คือ

                               (2.1)  เขตบํารุงรักษาสภาพปา เนื้อที่ 32,521  ไร หรือรอยละ 0.40 ของเนื้อที่จังหวัด

               สุราษฎรธานี สภาพปาในปจจุบันเปนปาสมบูรณ ประกอบดวยปาไมผลัดใบ ปาชายเลน ปาพรุและปาปลูก
                                      การจัดการ
                                      (2.1.1)  ปองกัน คุมครองและบํารุงรักษาพื้นที่ปาไมที่เหลือใหคงอยู

               และยั่งยืนอยางเขมงวด
                                      (2.1.2)  ในกรณีที่มีการบุกรุกทําลายปา ใหดําเนินการปองกันปราบปราม

               การลักลอบตัดไมทําลายปาอยางมีประสิทธิภาพ และมีผลการปฏิบัติอยางตอเนื่อง โดยดําเนินการกับผูกระทํา
               ความผิดอยางเด็ดขาด และเรงดําเนินการปลูกปาทดแทนอยางรวดเร็ว โดยกําหนดพันธุไมที่เหมาะสม
                                      (2.1.3)  นําเทคโนโลยีที่เหมาะสมและทันสมัยมาใชปองกันการลักลอบ หรือบุกรุก

               พื้นที่ปาไม
                                      (2.1.4)  จัดทําแนวเขตที่ดินปาสงวนแหงชาติ และปาไมถาวรตามมติคณะรัฐมนตรี

               ใหชัดเจนและยั่งยืน บนพื้นฐานการมีสวนรวมของชุมชน ทําใหเปนที่ยอมรับของผูมีสวนไดสวนเสีย
               ใชเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการปรับปรุง จําแนกแนวเขตที่ดินปาสงวนแหงชาติ และปาไมถาวรตามมติคณะรัฐมนตรี

               ปองกันไมใหราษฎรเกิดความสับสน เจาหนาที่ มีความมั่นใจในการปฏิบัติงาน
                                      (2.1.5)  สรางจิตสํานึกและสงเสริมใหทุกภาคสวนรูจักประโยชนและคุณคาของ

               ทรัพยากรปาไม ใหเกิดความหวงแหน ตองการและมีสวนรวมในการปองกันรักษาพื้นที่ปาไม บูรณาการ
               ความรวมมือและสงเสริมการมีสวนรวมทุกภาคสวนทั้งภาครัฐ เอกชน และชุมชนในพื้นที่ในการปฏิบัติงาน
               ปองกันรักษาพื้นที่ปาสงวนแหงชาติ การควบคุมไฟปา สนับสนุน การสรางเครือขายแนวรวมปาไม

               ในการอนุรักษทรัพยากรปาไมที่เขมแข็งทั้งภาครัฐ เอกชน และประชาชน
                                      (2.1.6)  สงเสริม สนับสนุน ประยุกตใชภูมิปญญาทองถิ่น และวัฒนธรรม

               ความเชื่อดานการอนุรักษในการบริหารจัดการพื้นที่ปาไม
                               (2.2)  เขตฟนฟูสภาพปา 2 เนื้อที่ 6,784  ไร หรือรอยละ 0.08 ของเนื้อที่จังหวัด

               สุราษฎรธานี พื้นที่ในเขตนี้มีลักษณะเดียวกับเขตบํารุงรักษาสภาพปาในอดีต แตสภาพปาในปจจุบัน
               เปนปารอสภาพฟนฟู ประกอบดวยปาไมผลัดใบรอสภาพฟนฟู ปาชายเลนรอสภาพฟนฟู ปาพรุรอสภาพฟนฟู

               ถาไมมีการรบกวน พื้นที่สภาพปาสามารถฟนตัวขึ้นเปนปาสมบูรณไดอีกครั้งตามธรรมชาติ
                                      การจัดการ
                                      (2.2.1)  ปรับปรุงแนวทางการประเมินและจําแนกเขตปาเสื่อมโทรม

               ใหเหมาะสม เปนแนวทางเดียวกันทุกหนวยงาน
                                      (2.2.2)  จัดทําฐานขอมูลการฟนฟูปาเสื่อมโทรม กําหนดพื้นที่เปาหมาย

               เปนแผนระยะยาว เพื่อใหการฟนฟูปาเสื่อมโทรมมีความตอเนื่อง
   117   118   119   120   121   122   123   124   125   126   127