Page 127 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดสุราษฎร์ธานี
P. 127

4-9


               เปนดินเหนียว ดินเหนียวปนทรายแปง ดินลึกมาก การระบายน้ําเลวถึงเลวมาก สภาพพื้นที่ราบเรียบ

               ความลาดชัน0 - 2 เปอรเซ็นต ความอุดมสมบูรณของดินต่ํา
                                       การจัดการ
                                       การจัดการเขตทํานาที่มีความเหมาะสมนอย ยึดรูปแบบการจัดการเขตทํานา

               ที่มีความเหมาะสมมาก ในการลดตนทุนการผลิต การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต และการขยายตลาด
               แตเนื่องจากอยูในเขตเกษตรกรรมอาศัยน้ําฝน และบางพื้นที่เปนดินเปรี้ยวจัด จึงมีการจัดการเพิ่มเติม ดังนี้

                                       (1.1.3.1)  เลือกใชพันธุขาวทนดินเปรี้ยวจัด
                                       (1.1.3.2)  การลางกรดออกจากดินดวยน้ําฝน ปลอยใหน้ําขังแชในแปลงนา

               ไมนอยกวา 2 สัปดาห จะชวยลดความเปนกรดของดิน
                                       (1.1.3.3)  เก็บตัวอยางดินวิเคราะห วัดคาความเปนกรดเปนดางของดิน (pH)

               ดินเปนกรดรุนแรงมากหรือนอย หาคาความตองการปูนของดิน ใสวัสดุปูนปรับปรุงดินตามอัตราที่กําหนด
               (ตามคาความตองการปูนของดิน) วิเคราะหปริมาณธาตุอาหารไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม เพื่อนําไป
               หาอัตราปุยที่ตองใช

                                       (1.1.3.4)  ไถกลบตอซังขาวและฟางขาว
                                (1.2)  เขตฟนฟูพื้นที่นาราง เนื้อที่ 17,520  ไร หรือรอยละ 0.22 ของเนื้อที่จังหวัด

               สุราษฎรธานี
                                       การจัดการ
                                      (1.2.1)  ศึกษาสาเหตุการเกิด สภาพปญหานารางทั้งระบบ กําหนดแนวทาง

               การฟนฟูการทํานาที่เหมาะสมและยั่งยืน บนพื้นฐานของความรูการทํานาแบบดั้งเดิม ผสมผสานกับนวัตกรรม
               การทํานาในแนวทางเกษตรอินทรีย

                                       (1.2.2)  จัดทําแผนบูรณาการฟนฟูพื้นที่นาราง ระยะยาว
                                       (1.2.3)  ปรับปรุงแปลงนาตามลักษณะที่กรมพัฒนาที่ดินกําหนดไว 3 ลักษณะ

               คือ
                                                การปรับรูปแปลงนาลักษณะที่ 1  เปนคันดินที่สรางขึ้น โดยใหระดับ

               ของคันดินอยูระดับเดียวกัน เนนใหมีการปลูกขาวแบบเดิม แตกําหนดใหมีการปรับโครงสรางใหมีคันดินเพิ่มขึ้น
               วัตถุประสงคเพื่อเก็บกักน้ําที่ไหลบามาไวเปนชวงๆ มีลักษณะเหมือนคันนา บนคันนาสามารถปลูกพืช
               ชนิดตางๆ ได

                                                การปรับรูปแปลงนาลักษณะที่ 2  เนนการปลูกขาวรวมกับไมผล
               ชนิดตางๆ เพื่อกักเก็บน้ํา ระบายน้ําและสงน้ํา ทําการปรับโครงสรางแปลงนาใหมีรองน้ํา โดยการขุดดินทําเปน

               คูแลวเอาดินนั้นขึ้นมาทับถมเปนคันดิน รองน้ําที่ขุดมีวัตถุประสงคเพื่อเก็บกักน้ํา ระบายน้ํา และสงน้ําใน
               แปลงปลูกพืช สวนบนคันดินยังสามารถปลูกพืชเศรษฐกิจชนิดตางๆ เพื่อเปนทางเลือก ใหกับชาวนา

                                          การปรับรูปแปลงนาในลักษณะที่ 3  เปนการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชน
               ที่ดินจากการทํานาเปนการปลูกไมผลและไมยืนตน โดยการขุดดินขึ้นใหเปนคูน้ําทั้งสองดานแลวนําดินนั้นมา

               ถมเปนคันดิน วัตถุประสงคเพื่อเก็บกักน้ําและระบายน้ําในพื้นที่ราบและราบลุม บนคันดินสามารถปลูก
   122   123   124   125   126   127   128   129   130   131   132