Page 132 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดสุราษฎร์ธานี
P. 132

4-14


               โดยวิเคราะหปริมาณธาตุอาหารในดิน คาความเปนกรดเปนดางของดิน ซึ่งเปนสิ่งแรกที่สําคัญอยางยิ่ง

               กอนการใสปุยตามชวงเวลาการเจริญเติบโต พื้นที่ที่เปนดินกรด ปรับปรุงโดยใสปูนโดโลไมท
                                                สงเสริมการใชสารอินทรียรวมกับปุยเคมี และสารเคมีที่มีราคาแพง
               โดยใชผลิตภัณฑจุลินทรียของกรมพัฒนาที่ดิน เชน ผลิตปุยหมักใชเองจากวัสดุที่มีในทองถิ่น เชน ทะลายปาลม

               น้ํามันเปลา เศษวัสดุจากการหีบปาลมน้ํามัน (ขี้เคก) ดวยสารเรงซูปเปอร พด.1 ปุยอินทรียคุณภาพสูง
               สูตรกรมพัฒนาที่ดิน ปุยชีวภาพ พด. 12 รวมกับปุยเคมี ปลูกพืชปุยสดในสวนมะพราว เชน ถั่วพรา โดยคลุก

               เมล็ดถั่วพราดวยจุลินทรียสําหรับพืชปรับปรุงบํารุงดิน พด.11 (ถั่วพรา) ชวยเพิ่มธาตุอาหารในดินใหมะพราว
               ไดรับประโยชนไปดวย

                                                หลีกเลี่ยงการกําจัดวัชพืชโดยใชสารเคมี ควรใชวิธีการตัดแทน
                                      (2.2.1.2)  เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต

                                                ประยุกตใชหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เกษตรทฤษฎีใหม
               ตามแนวพระราชดําริ โดยปลูกพืชหลากหลายชนิดและเลี้ยงสัตวในสวนมะพราว ตามที่ตลาดตองการ
               เปนการใชที่ดินอยางมีประสิทธิภาพ เชน แบงพื้นที่วางในสวนมะพราว ทําเกษตรผสมผสาน เกษตรอินทรีย

               แบบมีสวนรวม (PGS) การปลูกพืชแซม พืชเสริม พืชรวม เชน พืชผักอินทรีย สมุนไพร ปลูกหญาและเลี้ยงสัตว
               ควบคูกัน ไมยืนตนที่มีคุณคาทางเศรษฐกิจแซมในสวนมะพราว ใหมีพืชหมุนเวียนในการเก็บผลผลิต

               เพื่อจําหนายมีรายไดเสริมและหมุนเวียนตลอดป ระหวางรอผลผลิตมะพราว  เพื่อลดความเสี่ยงของปริมาณ
               ผลผลิต ราคาผลผลิต และการตลาด นอกจากนี้ จะมีผลในดานการสรางความสมดุลทางธรรมชาติ
               เมื่อมีความหลากหลายของชนิดพืชจะมีความหลากหลายของแมลงศัตรูตามธรรมชาติที่ควบคุมแมลงศัตรูพืช

               ใหอยูในระดับที่ไมเกิดการระบาดได เปนการลดตนทุนการใชสารเคมีในการปองกันกําจัดแมลงศัตรูพืช
                                                ปลูกมะพราวพันธุดีทดแทนสวนมะพราวเกา

                                                ปองกันกําจัดแมลงศัตรูมะพราว โดยการใชสารชีวภัณฑ ในการปองกัน
               กําจัดศัตรูมะพราว หรือใชแตนเบียนควบคุมหนอนหัวดํา

                                                สงเสริมการผลิตมะพราวตามมาตรฐาน GAP        เพื่อเพิ่มผลผลิต
               ตอไร

                                                จัดอบรมใหชาวสวนมะพราวสามารถทําปุยอินทรียใชเอง การใช
               ปุยสั่งตัด หรือการผสมปุยตามคาวิเคราะหดิน การปลูกมะพราวตามมาตรฐาน GAP
                                                สนับสนุนสินเชื่อชาวสวนมะพราวรายยอยเพื่อประกอบอาชีพเสริม

                                      (2.2.1.3)  การขยายตลาด
                                                ชาวสวนมะพราวตองเปนนักการเกษตรมืออาชีพ นักการตลาด พัฒนา

               ขีดความสามารถในการจัดระบบการผลิตใหสอดคลองกับศักยภาพพื้นที่ และความตองการของตลาด
               มีการวางแผนการผลิตมะพราว สินคาเกษตรอินทรีย และเพิ่มชองทางการตลาดไวลวงหนา โดยการนําผลผลิต

               สินคาไปจําหนายใหกับผูบริโภคโดยตรง  เพื่อเปนการประชาสัมพันธผลผลิตของชาวสวนมะพราวใหผูบริโภค
               ไดรับรู

                                                พัฒนาและสงเสริมใหชาวสวนมะพราวมีการรวมกลุม จัดตั้ง
               กลุมวิสาหกิจชุมชนเพื่อบริหารจัดการดานการปลูก รวมกลุมกันซื้อปจจัยการผลิตดานการเกษตร
   127   128   129   130   131   132   133   134   135   136   137