Page 136 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดสุราษฎร์ธานี
P. 136

4-18


                                                สงเสริมการผลิตยางพาราตามมาตรฐาน GAP เพื่อเพิ่มผลผลิตตอไร

                                                ในระยะยาว ปรับเปลี่ยนพันธุยางพาราในปจจุบัน เปนพันธุ RRIT 251
               ซึ่งใหผลผลิตเพิ่มขึ้นมากกวาปจจุบัน ตามคําแนะนําของการยางแหงประเทศไทย
                                                จัดอบรมใหชาวสวนยางพาราสามารถทําปุยอินทรียใชเอง

               การใชปุยสั่งตัด หรือการผสมปุยตามคาวิเคราะหดิน การผลิตยางพาราตามมาตรฐาน GAP
                                                สนับสนุนสินเชื่อชาวสวนยางพารารายยอยเพื่อประกอบอาชีพเสริม

                                      (3.1.1.3)  การขยายตลาด
                                                ชาวสวนยางพาราตองเปนนักการเกษตรมืออาชีพ นักการตลาด

               พัฒนาขีดความสามารถในการจัดระบบการผลิตใหสอดคลองกับศักยภาพพื้นที่และความตองการของตลาด
               โดยการนําผลผลิตสินคาเกษตรอินทรียไปจําหนายใหกับผูบริโภคโดยตรง  เพื่อเปนการประชาสัมพันธผลผลิต

               ของชาวสวนยางพาราใหผูบริโภคไดรับรู
                                                พัฒนาและสงเสริมใหชาวสวนยางพารามีการรวมกลุม
               จัดตั้งกลุมวิสาหกิจชุมชนเพื่อบริหารจัดการดานการปลูก รวมกลุมกันซื้อปจจัยการผลิตดานการเกษตร

               และการตลาด  ใหเกิดความคุมคามากที่สุด  สรางความเขมแข็งของระบบการผลิตและการตลาด
               ใหชาวสวนยางพารา และสินคาเกษตรอินทรียมีความสามารถในการตอรองการขายผลผลิต และการจัดหา

               ปจจัยการผลิตเพื่อลดตนทุนการผลิต
                                      (3.1.2)  เขตปลูกยางพาราที่มีความเหมาะสมนอย เนื้อที่    264,085 ไร
               หรือรอยละ 3.28 ของเนื้อที่จังหวัดสุราษฎรธานี  ลักษณะดินเปนดินเหนียว ดินรวน ดินรวนเหนียว  ดินรวน

               ปนทราย เปนดินตื้นปนกรวดลูกรัง เศษหิน หรือตื้นถึงหินพื้น การระบายน้ําดีปานกลางถึงดี สภาพพื้นที่
               ราบเรียบถึงสูงชัน ความลาดชัน 0 - 35 เปอรเซ็นต ความอุดมสมบูรณของดินต่ํา

                                      การจัดการ
                                      การจัดการเขตปลูกยางพาราที่มีความเหมาะสมนอย ยึดรูปแบบการจัดการ

               เขตปลูกยางพาราที่มีความเหมาะสมปานกลาง ในการลดตนทุนการผลิต การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต
               และการขยายตลาด แตเนื่องจากพื้นที่เปนดินมีปญหา คือ เปนดินทรายจัด ดินทรายจัดที่พบชั้นดานอินทรีย

               แข็งภายในความลึก 100 เซนติเมตร เปนดินตื้นที่มีเศษหิน ลูกรังปะปน หรือตื้นถึงหินพื้น
               บางพื้นที่เปนดินเปรี้ยวจัด ดินเค็มชายทะเล และดินบนพื้นที่สูงชัน  ความลาดชัน 20- 35 เปอรเซ็นต
               ความอุดมสมบูรณของดินต่ํา จึงมีแนวทางการจัดการเพิ่มเติม ดังนี้

                                      (3.1.2.1)  ดินตื้น
                                                เก็บตัวอยางดินวิเคราะห  วัดคาความเปนกรดเปนดางของดิน (pH)

               วิเคราะหปริมาณธาตุอาหาร ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม เพื่อนําไปหาอัตราปุยที่ตองใช
                                                มีการเขตกรรมที่เหมาะสม ไถพรวนดินใหนอยที่สุด เพื่อปองกัน

               การชะลางพังทลายของดิน.........
                                                เพิ่มความอุดมสมบูรณของดินโดยใชปุยอินทรีย ไดแก ปุยหมัก ปุยคอก

               หรือปลูกพืชตระกูลถั่ว แลวไถกลบเพื่อเพิ่มความสามารถในการดูดซับธาตุอาหารและน้ําใหแกดิน
               และใชปุยเคมีรวม
   131   132   133   134   135   136   137   138   139   140   141