Page 135 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดสุราษฎร์ธานี
P. 135

4-17


                                                สงเสริมการใชสารอินทรียรวมกับปุยเคมี และสารเคมีที่มีราคาแพง

               โดยใชผลิตภัณฑจุลินทรียของกรมพัฒนาที่ดิน เชน  ผลิตปุยหมักใชเองจากวัสดุที่มีในทองถิ่น เชน ทะลาย
               ปาลมน้ํามันเปลา เศษวัสดุจากการหีบปาลมน้ํามัน (ขี้เคก) ดวยสารเรงซูปเปอร พด.1 ปุยอินทรียคุณภาพสูง
               สูตรกรมพัฒนาที่ดิน ปุยชีวภาพ พด. 12 รวมกับปุยเคมี ผลิตน้ําหมักชีวภาพดวยสารเรงซูปเปอร พด.2

               เพื่อราดโคนตน ปลูกพืชปุยสดในสวนยางพารา เชน ถั่วพรา โดยคลุกเมล็ดถั่วพราดวยจุลินทรียสําหรับ
               พืชปรับปรุงบํารุงดิน พด.11 (ถั่วพรา) ชวยเพิ่มธาตุอาหารในดินใหยางพาราไดรับประโยชนไปดวย

                                                หลีกเลี่ยงการกําจัดวัชพืชโดยใชสารเคมี ควรใชวิธีการตัดแทน
                                                สงเสริม และเพิ่มศักยภาพความสามารถแรงงานครัวเรือน

               ในการกรีดยางพารา เพื่อลดการจางแรงงาน นําไปสูการลดตนทุนการผลิต
                                      (3.1.1.2)  เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต

                                                ประยุกตใชหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เกษตรทฤษฎีใหม
               ตามแนวพระราชดําริ ซึ่งเปนการใชที่ดินอยางมีประสิทธิภาพ เพื่อลดความเสี่ยงในการปลูกยางพาราอยางเดียว
               เสริมรายไดดวยการแบงพื้นที่วางในสวนยางพารา ทําสวนยางพาราผสมผสาน วนเกษตรยางพารา

               เกษตรผสมผสาน เกษตรอินทรียแบบมีสวนรวม (PGS) โดยปลูกพืชหลากหลายชนิดในสวนยางพารา เชน
               พืชผักอินทรีย สมุนไพร เปนพืชแซม ปลูกไมยืนตนที่มีคุณคาทางเศรษฐกิจเปนพืชรวมยางพารา ซึ่งการเลือก

               ชนิดพืชที่ปลูกแซมและปลูกรวมยางพารา พิจารณาตามความเหมาะสมของยางพาราในแตละชวงอายุ
               เพื่อไมใหเกิดความเสียหายตอยางพารา พืชแซม พืชรวมยางพารา การทําสวนยางพาราผสมผสาน ทําใหใหมี
               พืชหมุนเวียนในการเก็บผลผลิตเพื่อจําหนาย มีรายไดเสริมและหมุนเวียนตลอดป เพื่อลดความเสี่ยงของ

               ปริมาณผลผลิต ราคาผลผลิต และการตลาด  กรณีไมปลูกพืชแซมหรือพืชรวม อาจปลูกพืชตระกูลถั่วคลุมดิน
               เชน ถั่วคาโลโปโกเนียม ถั่วเพอราเรีย  ถั่วเซนโตรซีมา เพื่อปองกันและควบคุมการเจริญเติบโตของวัชพืช

               รวมถึงการชะลางพังทลายของดิน ชวยปรับโครงสรางของดินและเพิ่มความอุดมสมบูรณใหแกดิน
                               หลักในการพิจารณาการปลูกพืชแซม พืชรวมยางพารา วนเกษตรยางพารา(ภาคผนวกที่ 3)

                               - ควรปลูกพืชแซม พืชรวม ที่ตลาดมีความตองการ
                               - มีการใชแรงงานในครอบครัว ในกรณีปลูกพืชแซม

                               - พืชที่ปลูกแซมควรเปนพืชลมลุก อายุสั้น
                               - ปลูกพืชแซมหางจากแถวยางพาราไมต่ํากวา 1 เมตร
                               - ไมควรปลูกพืชแซมหลังจากยางพาราอายุ 3 ป ขึ้นไป

                               - ควรใสปุยใหกับพืชแซม พืชรวมดวย
                               - ชาวสวนยางพาราควรคุนเคยกับการปฏิบัติ ดูแลรักษาพืชรวมยางพาราที่เลือกปลูก

                               - วิเคราะหผลตอบแทนจากการลงทุนปลูกพืชรวมแตละชนิดรวมกับยางพารา
                               - พืชรวมยางพารา ตองไมกระทบการปฏิบัติงานในสวนยางพารา หรือมีผลตอ

               การเจริญเติบโตของยางพารา
                                                สนับสนุนการจัดหาแหลงน้ําพรอมระบบสงน้ําอยางทั่วถึง เชน สระน้ํา
               บอบาดาล บอน้ําในไรนา เพื่อรองรับผลกระทบภัยแลงในชวงเดือนมกราคมถึงเดือนกุมภาพันธ

               ซึ่งจะชวยสนับสนุนการทําเกษตรผสมผสาน เกษตรอินทรียแบบมีสวนรวม (PGS) การปลูกพืชแซม
               พืชเสริมในสวนยางพารา
   130   131   132   133   134   135   136   137   138   139   140