Page 140 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดสุราษฎร์ธานี
P. 140

4-22


                                       (3.2.2)  เขตปลูกปาลมน้ํามันที่มีความเหมาะสมปานกลาง เนื้อที่

               1,221,161  ไร หรือรอยละ15.15 ของเนื้อที่จังหวัดสุราษฎรธานี ลักษณะดิน เปนดินดอน ดินนายกรอง
               ในเขตเกษตรกรรมอาศัยน้ําฝน ดินเปรี้ยวจัด ดินเค็มชายทะเลยกรองปลูกปาลมน้ํามันในเขตชลประทาน
               ฝายคลองไชยา และฝายคลองทาทอง เนื้อดินเปนดินเหนียว ดินทรายแปง ดินรวน ดินรวนปนทราย ดินรวน

               ปนทรายแปง ดินรวนเหนียว ดินรวนเหนียวปนทราย ดินรวนเหนียวปน ทรายแปง ดินลึกปานกลางถึงลึกมาก
               การระบายน้ําดีปานกลางถึงดี สภาพพื้นที่ราบเรียบถึงลูกคลื่น ลอนชัน  มีความลาดชัน 0 - 12 เปอรเซ็นต

               ความอุดมสมบูรณของดินต่ําถึงปานกลาง
                                       การจัดการ

                                       การจัดการเขตปลูกปาลมน้ํามันที่มีความเหมาะสมปานกลาง ยึดรูปแบบ
               การจัดการเขตปลูกปาลมน้ํามันที่มีความเหมาะสมมาก ในการลดตนทุนการผลิต การเพิ่มประสิทธิภาพ

               การผลิต และการขยายตลาด โดยมีแนวทางการจัดการเพิ่มเติม คือ
                                       (3.2.2.1)  ในเขตเกษตรกรรมอาศัยน้ําฝน สนับสนุนการจัดหาแหลงน้ํา
               พรอมระบบสงน้ําในการทําสวนปาลมน้ํามันอยางทั่วถึง เชน สระน้ํา บอบาดาล บอน้ําในไรนาเพื่อรองรับ

               ผลกระทบภัยแลงในชวงเดือนมกราคมถึงเดือนกุมภาพันธ ชวยใหไดผลผลิตสูงขึ้น และชวยสนับสนุนการทํา
               เกษตรผสมผสาน เกษตรอินทรียแบบมีสวนรวม (PGS) การปลูกพืชแซม พืชเสริมในสวนปาลมน้ํามัน

               อีกทางหนึ่ง



                                       (3.2.2.2)  ดินเปรี้ยวจัดยกรองปลูกปาลมน้ํามันในเขตชลประทาน
                                                 การลางกรดออกจากดินดวยน้ําฝน ปลอยใหน้ําขังแชในแปลงปลูก

               ปาลมน้ํามันไมนอยกวา 2 สัปดาห จะชวยลดความเปนกรดของดิน
                                                 เก็บตัวอยางดินวิเคราะห วัดคาความเปนกรดเปนดางของดิน (pH)

               ดินเปนกรดรุนแรงมากหรือนอย หาคาความตองการปูนของดิน วิเคราะหปริมาณธาตุอาหาร ไนโตรเจน
               ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม เพื่อนําไปหาอัตราปุยที่ตองใช

                                                 ปรับปรุงแกไขความเปนกรดของดินดวยวัสดุปูนโดโลไมต อัตราตาม
               ความตองการปูนของดิน หรือปริมาณ 2  ตันตอไร เพื่อปรับคา pH  ใหอยูในชวงที่เหมาะสม โดยหวานปูน
               ทั่วพื้นที่แปลงปลูก หรือปรับปรุงเฉพาะหลุมปลูก (3-5  กิโลกรัมตอหลุม) สับคลุกเคลาปูนกับดิน รดน้ําพอชุม

               หมักทิ้งไวประมาณ 20 วัน ยอยดินแลวปลูกพืชตระกูลถั่ว (ถั่วพุม ถั่วพรา) เพื่อสับกลบเปนปุยพืชสด
                                                 ปรับปรุงเนื้อดินใหรวนซุย ระบายน้ําไดดี โดยใสปุยหมัก ทุกปๆ ละ

               25-50 กิโลกรัม รอบแนวทรงพุม
                                       (3.2.2.3)  ดินเค็มชายทะเลยกรองปลูกปาลมน้ํามันในเขตชลประทาน

                                                 การลางดิน สามารถทําได โดยการนําน้ําจืดเขามาชะลางเกลือ
               แลวระบายเกลือออกไป ในกรณีที่ดินมีเกลือโซเดียมสูงๆ ควรใชยิปซัมรวมในการลางดิน.............

                               .                 ลดระดับน้ําใตดิน โดยวิธีระบายออกหรือสูบออก.การใชวัสดุอินทรีย
               ปรับปรุงดิน เชน ปุยหมัก ปุยคอก ปุยพืชสด
   135   136   137   138   139   140   141   142   143   144   145