Page 137 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดสุราษฎร์ธานี
P. 137

4-19


               .........                        จัดหาแหลงน้ําใหพอเพียงกับการเพาะปลูก และมีการใหน้ํา

               อยางมีประสิทธิภาพ เชน ใหน้ําแบบหยด และใชวัสดุคลุมดินเพื่อปองกันการระเหยของน้ําและเก็บรักษา
               ความชื้นในดิน
                                      (3.1.2.2)  ดินทรายจัด  ดินทรายจัดที่พบชั้นดานอินทรียแข็งภายในความลึก

               100 เซนติเมตร
                                                เก็บตัวอยางดินวิเคราะห  วัดคาความเปนกรดเปนดางของดิน (pH)

               วิเคราะหปริมาณธาตุอาหาร ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม เพื่อนําไปหาอัตราปุยที่ตองใช
                                                ปรับปรุงบํารุงดินและเพิ่มความอุดมสมบูรณของดินดวยอินทรียวัตถุ

               เชน ปุยหมัก ปุยคอก หรือปลูกพืชตระกูลถั่ว แลวไถกลบเปนปุยพืชสด เพื่อเพิ่มความสามารถในการดูดซับ
               ธาตุอาหารพืชและความสามารถในการอุมน้ําแกดิน ปรับปรุงสมบัติทางกายภาพของดินทําใหดิน

               มีการเกาะยึดตัวดีขึ้น.........
                                                การอนุรักษดินและน้ําที่เหมาะสม ปลูกพืชคลุมดินเพื่อปองกัน
               การชะลางพังทลายของดิน การใชวัสดุคลุมดินเพื่อปองกันการระเหยของน้ําและรักษาความชื้นไวในดิน .........

                                                จัดการน้ําที่เหมาะสม เพื่อใหการใชน้ําเปนไปอยางประหยัด
               และมีประสิทธิภาพ เชน การใหน้ําแบบหยด เปนตน หรือขุดสระเพื่อเก็บน้ําไวใชในชวงที่พืชขาดน้ํา

                                                ใสปุยเคมีตามคาวิเคราะหดิน ควรเปนปุยเคมีที่ละลายชา แบงใส
               ครั้งละนอยๆ ใสในขณะที่ดินมีความชื้นเหมาะสม และควรใชรวมกับปุยอินทรีย
                                      (3.1.2.3)  ดินเปรี้ยวจัด

                                                เก็บตัวอยางดินวิเคราะห วัดคาความเปนกรดเปนดางของดิน (pH)
               ดินเปนกรดรุนแรงมากหรือนอย หาคาความตองการปูนของดิน วิเคราะหปริมาณธาตุอาหาร ไนโตรเจน

               ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม เพื่อนําไปหาอัตราปุยที่ตองใช
                                                ปรับปรุงแกไขความเปนกรดของดินดวยวัสดุปูนโดโลไมต อัตราตาม

               ความตองการปูนของดิน หรือปริมาณ 2  ตันตอไร เพื่อปรับคา pH  ใหอยูในชวงที่เหมาะสม โดยหวานปูน
               ทั่วพื้นที่แปลงปลูก หรือปรับปรุงเฉพาะหลุมปลูก (3-5  กิโลกรัมตอหลุม) สับคลุกเคลาปูนกับดิน รดน้ําพอชุม

               หมักทิ้งไวประมาณ 20 วัน ยอยดินแลวปลูกพืชตระกูลถั่ว (ถั่วพุม ถั่วพรา) เพื่อสับกลบเปนปุยพืชสด
               ........                         ปรับปรุงเนื้อดินใหรวนซุย ระบายน้ําไดดี โดยใสปุยหมัก ทุกปๆ ละ
               25-50 กิโลกรัม รอบแนวทรงพุม

                                      (3.1.2.4)  ดินเค็มชายทะเล
                               ..............   การลางดิน สามารถทําได โดยการนําน้ําจืดเขามาชะลางเกลือ

               แลวระบายเกลือออกไป ในกรณีที่ดินมีเกลือโซเดียมสูงๆ ควรใชยิปซัมรวมในการลางดิน.............
                               .                ลดระดับน้ําใตดิน โดยวิธีระบายออกหรือสูบออก.การใชวัสดุอินทรีย

               ปรับปรุงดิน เชน ปุยหมัก ปุยคอก ปุยพืชสด
                                      (2.1.2.5)  ดินบนพื้นที่สูงชัน ความลาดชัน 20 - 35 เปอรเซ็นต
   132   133   134   135   136   137   138   139   140   141   142