Page 141 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดสุราษฎร์ธานี
P. 141

4-23


                                       (3.2.3)  เขตปลูกปาลมน้ํามันที่มีความเหมาะสมนอย เนื้อที่ 273,747 ไร

               หรือรอยละ 3.39 ของเนื้อที่จังหวัดสุราษฎรธานี  ไร อยูในเขตเกษตรกรรมอาศัยน้ําฝน ลักษณะดิน
               เปนดินเหนียว ดินรวน ดินรวนเหนียว ดินรวนปนทราย เปนดินตื้นปนกรวดลูกรัง เศษหิน หรือตื้นถึงหินพื้น
               การระบายน้ําดีปานกลางถึงดี บางพื้นที่เปนดินเปรี้ยวจัด ดินเค็มชายทะเลยกรองปลูกปาลมน้ํามัน สภาพพื้นที่

               ราบเรียบถึงลาดชันปานกลาง ความลาดชัน 0 - 20 เปอรเซ็นต ความอุดมสมบูรณของดินต่ํา
                                     การจัดการ

                                     การจัดการเขตปลูกปาลมน้ํามันที่มีความเหมาะสมนอย ยึดรูปแบบการจัดการ
               เขตปลูกปาลมน้ํามันที่มีความเหมาะสมมากและเหมาะสมปานกลาง ในการลดตนทุนการผลิต การเพิ่ม

               ประสิทธิภาพการผลิต และการขยายตลาด แตเนื่องจากพื้นที่เปนดินมีปญหา คือ เปนดินทรายจัด ดินทรายจัด
               ที่พบชั้นดานอินทรียแข็งภายในความลึก 100 เซนติเมตร เปนดินตื้นที่มีเศษหิน ลูกรังปะปน หรือตื้นถึงหินพื้น

               บางพื้นที่เปนดินเปรี้ยวจัด หรือดินเค็มชายทะเลยกรองปลูกปาลมน้ํามัน ดินบนพื้นที่ลาดชันปานกลาง
               ความลาดชัน 12 - 20 เปอรเซ็นต ความอุดมสมบูรณของดินต่ํา จึงมีแนวทางการจัดการเพิ่มเติม ดังนี้
                                      (3.2.3.1)  ดินตื้น

                                                เก็บตัวอยางดินวิเคราะห  วัดคาความเปนกรดเปนดางของดิน (pH)
               วิเคราะหปริมาณธาตุอาหาร ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม เพื่อนําไปหาอัตราปุยที่ตองใช

                                                มีการเขตกรรมที่เหมาะสม ไถพรวนดินใหนอยที่สุด เพื่อปองกัน
               การชะลางพังทลายของดิน.........
                                                เพิ่มความอุดมสมบูรณของดินโดยใชปุยอินทรีย ไดแก ปุยหมัก ปุยคอก

               หรือปลูกพืชตระกูลถั่ว แลวไถกลบเพื่อเพิ่มความสามารถในการดูดซับธาตุอาหารและน้ําใหแกดิน
               และใชปุยเคมีรวม

               .........                        จัดหาแหลงน้ําใหพอเพียงกับการเพาะปลูก และมีการใหน้ํา
               อยางมีประสิทธิภาพ เชน ใหน้ําแบบหยด และใชวัสดุคลุมดินเพื่อปองกันการระเหยของน้ําและเก็บรักษา

               ความชื้นในดิน
                                      (3.2.3.2)  ดินทรายจัด      ดินทรายจัดที่พบชั้นดานอินทรียแข็งภายใน

               ความลึก 100 เซนติเมตร
                                                เก็บตัวอยางดินวิเคราะห  วัดคาความเปนกรดเปนดางของดิน (pH)
               วิเคราะหปริมาณธาตุอาหาร ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม เพื่อนําไปหาอัตราปุยที่ตองใช

                                                ปรับปรุงบํารุงดินและเพิ่มความอุดมสมบูรณของดินดวยอินทรียวัตถุ
               เชน ปุยหมัก ปุยคอก หรือปลูกพืชตระกูลถั่ว แลวไถกลบเปนปุยพืชสด เพื่อเพิ่มความสามารถในการดูดซับ

               ธาตุอาหารพืชและความสามารถในการอุมน้ําแกดิน ปรับปรุงสมบัติทางกายภาพของดิน ทําใหดิน
               มีการเกาะยึดตัวดีขึ้น.........

                                                การอนุรักษดินและน้ําที่เหมาะสม ปลูกพืชคลุมดินเพื่อปองกัน
               การชะลางพังทลายของดิน การใชวัสดุคลุมดินเพื่อปองกันการระเหยของน้ําและรักษาความชื้นไวในดิน .........

                                                จัดการน้ําที่เหมาะสม เพื่อใหการใชน้ําเปนไปอยางประหยัด
               และมีประสิทธิภาพ เชน การใหน้ําแบบหยด เปนตน หรือขุดสระเพื่อเก็บน้ําไวใชในชวงที่พืชขาดน้ํา
   136   137   138   139   140   141   142   143   144   145   146