Page 139 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดสุราษฎร์ธานี
P. 139

4-21


               ของกรมวิชาการเกษตร ซึ่งมีใหเลือก 8  พันธุ ไดแก ลูกผสมสุราษฎรธานี 1,  2,  3,  4,  5,  6,  7  และลูกผสม

               สุราษฎรธานี 84-8  ซึ่งใหผลผลิตสูง ตั้งแตไรละ 2.94-3.64  ตันตอป ทั้งยังใหเปอรเซ็นตน้ํามันถึง 23  -  27
               เปอรเซ็นต ทั้งนี้ ชาวสวนปาลมน้ํามันตองมีการจัดการปุยอยางถูกตอง ตามหลักวิชาการดวย เก็บเกี่ยวทะลาย
               ปาลมสดในระยะที่สุกพอดี โดยรอบของการเก็บเกี่ยวที่เหมาะสม ควรอยูในชวง 10 - 15 หรือ 15 - 20 วัน

                                                 จัดระบบปลูกปาลมน้ํามันทดแทนสวนเดิม โดยการปลูก
               กลาปาลมน้ํามันอายุ 12 เดือน แซมเขาไป 100 เปอรเซ็นต จากนั้นใหตัดตนปาลมน้ํามันเดิมลง50 เปอรเซ็นต

               หลังยายปลูก 6 เดือน ตัดใหครบ 100 เปอรเซ็นต หลังยายปลูก 24 เดือน ก็จะไดพันธุใหมที่ดีกวา
                                                 ประยุกตใชหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เกษตรทฤษฎีใหมตาม

               แนวพระราชดําริ ซึ่งเปนการใชที่ดินอยางมีประสิทธิภาพ เพื่อลดความเสี่ยงในการปลูกปาลมน้ํามันอยางเดียว
               เสริมรายไดดวยการแบงพื้นที่วางในสวนปาลมน้ํามัน ทําสวนปาลมน้ํามันแบบผสมผสาน เกษตรผสมผสาน

               เกษตรอินทรียแบบมีสวนรวม (PGS) โดยปลูกพืชหลากหลายชนิดในสวนปาลมน้ํามัน เชน พืชผักอินทรีย
               สมุนไพร เปนพืชแซม ปลูกไมยืนตนที่มีคุณคาทางเศรษฐกิจเปนพืชรวมปาลมน้ํามัน ซึ่งการเลือกชนิดพืช
               ที่ปลูกแซมและปลูกรวมปาลมน้ํามัน พิจารณาตามความเหมาะสมของปาลมน้ํามันในแตละชวงอายุ เพื่อไมให

               เกิดความเสียหายตอปาลมน้ํามัน พืชแซม พืชรวมปาลมน้ํามัน  การทําสวนปาลมน้ํามันผสมผสาน ทําใหใหมี
               พืชหมุนเวียนในการเก็บผลผลิตเพื่อจําหนายมีรายไดเสริมและหมุนเวียนตลอดป เพื่อลดความเสี่ยงของปริมาณ

               ผลผลิต ราคาผลผลิต และการตลาด  กรณีไมปลูกพืชแซมหรือพืชรวม อาจปลูกพืชตระกูลถั่วคลุมดิน เชน
               ถั่วคาโลโปโกเนียม ถั่วเพอราเรีย   ถั่วเซนโตรซีมา เพื่อปองกันและควบคุมการเจริญเติบโตของวัชพืช รวมถึง
               การชะลางพังทลายของดิน ชวยปรับโครงสรางของดินและเพิ่มความอุดมสมบูรณใหแกดิน

                                                 สงเสริมการผลิตปาลมน้ํามันตามมาตรฐาน GAP  เพื่อเพิ่มผลผลิต
               ตอไร

                                                 จัดอบรมใหชาวสวนปาลมน้ํามันสามารถทําปุยอินทรียใชเอง
               การใชปุยสั่งตัด หรือการผสมปุยตามคาวิเคราะหดิน การปลูกปาลมน้ํามันตามมาตรฐาน GAP

                                                 สนับสนุนสินเชื่อชาวสวนปาลมน้ํามันรายยอยเพื่อประกอบ
               อาชีพเสริม

                                       (3.2.1.3)  การขยายตลาด
                                                 ชาวสวนปาลมน้ํามันตองเปนนักการเกษตรมืออาชีพ นักการตลาด
               พัฒนาขีดความสามารถในการจัดระบบการผลิตใหสอดคลองกับศักยภาพพื้นที่ และความตองการของตลาด

               โดยการนําผลผลิตสินคาเกษตรอินทรียไปจําหนายใหกับผูบริโภคโดยตรง  เพื่อเปนการประชาสัมพันธผลผลิต
               ของชาวสวนปาลมน้ํามันใหผูบริโภคไดรับรู

                                                 พัฒนาและสงเสริมใหชาวสวนปาลมน้ํามันมีการรวมกลุม จัดตั้ง
               กลุมวิสาหกิจชุมชนเพื่อบริหารจัดการดานการปลูก รวมกลุมกันซื้อปจจัยการผลิตดานการเกษตร

               และการตลาด  ใหเกิดความคุมคามากที่สุด  สรางความเขมแข็งของระบบการผลิตและการตลาด
               ใหชาวสวนปาลมน้ํามัน และสินคาเกษตรอินทรียมีความสามารถในการตอรองการขายผลผลิต

               และการจัดหาปจจัยการผลิตเพื่อลดตนทุนการผลิต
   134   135   136   137   138   139   140   141   142   143   144