Page 128 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดสุราษฎร์ธานี
P. 128

4-10


               พืชเศรษฐกิจ เชน ไมผล-ไมยืนตนแบบแถว การปรับรูปแปลงนาลักษณะนี้สามารถออกแบบตอเนื่องทําเปน

               แปลงใหญๆ ได
                            (2)  เขตปลูกไมผล เนื้อที่ 228,960 ไร หรือรอยละ 2.84 ของเนื้อที่จังหวัดสุราษฎรธานี
               ปจจุบันมีการปลูกทุเรียน เงาะ มังคุด มะพราว และไมผลผสมที่มีไมผลทั้ง 4 ชนิด เปนพืชหลัก

               อยูในเขตเกษตรกรรมอาศัยน้ําฝน แบงเขตปลูกไมผลออกเปน 2 เขต คือ
                                (2.1)  เขตปลูกทุเรียน เงาะ มังคุด เนื้อที่ 110,720 ไรหรือรอยละ 1.37 ของเนื้อที่จังหวัด

               สุราษฎรธานี แบงเขตปลูกทุเรียน เงาะ มังคุด ออกเปน 2 เขต คือ
                                      (2.1.1)  เขตปลูกทุเรียน เงาะ มังคุดที่มีความเหมาะสมปานกลาง เนื้อที่

               91,417 ไร หรือรอยละ 1.13 ของเนื้อที่จังหวัดสุราษฎรธานี ลักษณะดิน เปนดินรวน ดินรวนปนทราย ดินรวน
               ปนทรายแปง ดินเหนียว ดินรวนเหนียว ดินรวนเหนียวปนทราย ดินรวนเหนียวปนทรายแปง  ดินลึกปานกลาง

               ถึงลึกมาก การระบายน้ําดีปานกลางถึงดี สภาพพื้นที่ราบเรียบถึงลาดชันปานกลาง  ความลาดชัน 0 - 20
               เปอรเซ็นต ความอุดมสมบูรณของดินต่ําถึงปานกลาง
                                      การจัดการ

                                      (2.1.1.1)  ใชเทคโนโลยีลดตนทุนการผลิตและลดผลกระทบสิ่งแวดลอม
               โดยการปรับปรุงบํารุงดิน เพื่อฟนฟูความอุดมสมบูรณของดิน ใหมีธาตุอาหารอยางเพียงพอกับทุเรียน เงาะ

               มังคุด เพิ่มอินทรียวัตถุใหกับดินอยางตอเนื่อง ปองกันและหลีกเลี่ยงการกอมวลพิษใหกับสิ่งแวดลอม
               โดยการลดใชสารเคมี ดังนี้
                                                สงเสริมการใชปุยอยางมีประสิทธิภาพ โดยผสมปุยใชเอง ใสปุย

               ใหถูกตองกับชวงเวลาการเจริญเติบโตของทุเรียน  เงาะ มังคุด  เพื่อลดการสูญเสียปุย หรือเกินความตองการ
               ของทุเรียน เงาะ มังคุด โดยวิเคราะหปริมาณธาตุอาหารในดิน คาความเปนกรดเปนดางของดิน ซึ่งเปนสิ่งแรก

               ที่สําคัญอยางยิ่ง กอนการใสปุยตามชวงเวลาการเจริญเติบโต พื้นที่ที่เปนดินกรด ปรับปรุงโดยใสปูนโดโลไมท
                                                สงเสริมการใชสารอินทรียรวมกับปุยเคมี และสารเคมีที่มีราคาแพง

               โดยใชผลิตภัณฑจุลินทรียของกรมพัฒนาที่ดิน เชน  ผลิตปุยหมักใชเองจากวัสดุที่มีในทองถิ่น เชน ทะลาย
               ปาลมน้ํามันเปลา เศษวัสดุจากการหีบปาลมน้ํามัน (ขี้เคก) ดวยสารเรงซูปเปอร พด.1 ปุยอินทรียคุณภาพสูง

               สูตรกรมพัฒนาที่ดิน ปุยชีวภาพ พด. 12 รวมกับปุยเคมี ผลิตน้ําหมักชีวภาพ ดวยสารเรงซูปเปอร พด.2
               เพื่อราดโคนตน ปลูกพืชปุยสดในสวนทุเรียน เงาะ มังคุด เชน ถั่วพรา โดยคลุกเมล็ดถั่วพราดวยจุลินทรีย
               สําหรับพืชปรับปรุงบํารุงดิน พด.11 (ถั่วพรา) ชวยเพิ่มธาตุอาหารในดินใหทุเรียน เงาะ มังคุด ไดรับประโยชน

               ไปดวย
                                                หลีกเลี่ยงการกําจัดวัชพืชโดยใชสารเคมี ควรใชวิธีการตัดแทน

                                      (2.1.1.2)  เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต
                                                สงเสริมการผลิตทุเรียน เงาะ มังคุด ตามมาตรฐาน GAP เพื่อเพิ่ม

               ผลผลิตตอไร
                                                เก็บเกี่ยวทุเรียน เงาะ มังคุด ในชวงระยะเวลาที่เหมาะสม เพื่อให

               ทุเรียน เงาะ มังคุด มีคุณภาพตามมาตรฐาน GAP
   123   124   125   126   127   128   129   130   131   132   133