Page 119 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดสุราษฎร์ธานี
P. 119

บทที่ 4

                                                    แผนการใชที่ดิน

               4.1  แผนการใชที่ดิน
                     จากการวิเคราะหนโยบายแหงรัฐ ยุทธศาสตร แผนพัฒนาดานตางๆ ขอมูลทางกายภาพ  เศรษฐกิจ

               และสังคม สามารถกําหนดเขตการใชที่ดินในแผนการใชที่ดินจังหวัดสุราษฎรธานีไดดังนี้
                     4.1.1  เขตปาไม เนื้อที่ 3,043,203 ไร   หรือรอยละ 37.77 ของเนื้อที่จังหวัดสุราษฎรธานี
               เมื่อพิจารณาวัตถุประสงคของแนวทางการดําเนินงาน  มาตรการการใชประโยชนทรัพยากรในเขตปาไมตาม

               กฎหมายและมติคณะรัฐมนตรี นโยบาย แผนพัฒนาที่เกี่ยวของกับทรัพยากรปาไมแลว แบงเขตปาไมออกเปน
               3 เขต คือ

                            (1)  เขตพื้นที่ปาอนุรักษ เนื้อที่ 2,801,494  ไร หรือรอยละ 34.77  ของเนื้อที่จังหวัด
               สุราษฎรธานี พื้นที่ในเขตนี้เปนเขตปาอนุรักษตามกฎหมายและมติคณะรัฐมนตรี ไดแก อุทยานแหงชาติ

               เขตรักษาพันธุสัตวปา เขตหามลาสัตวปา เขตอนุรักษปาชายลน พื้นที่ปาเพื่อการอนุรักษ (โซน  C)
               ในเขตปาสงวนแหงชาติ พื้นที่ลุมน้ําชั้นที่ 1 และชั้นที่ 2 เขตพื้นที่ปาอนุรักษกําหนดไวเพื่อการอนุรักษ

               ทรัพยากรธรรมชาติ พันธุพืช พันธุสัตวปาที่หายาก ตลอดจนการรักษาสมดุลของระบบนิเวศ สภาพปา
               เปนปาสมบูรณ ปารอสภาพฟนฟู พื้นที่ลุม ตลอดจนพื้นที่ทําการเกษตร แบงเขตพื้นที่ปาอนุรักษออกเปน
               3 เขตยอย คือ

                               (1.1)  เขตคุมครองสภาพปา เนื้อที่ 2,295,355 ไร หรือรอยละ 28.49 ของเนื้อที่จังหวัด
               สุราษฎรธานี สภาพปาในปจจุบันเปนปาสมบูรณ ประกอบดวยปาไมผลัดใบ ปาชายเลน ปาพรุ และปาปลูก
                                      การจัดการ

                                      (1.1.1)  ปองกันและคุมครองพื้นที่ปาไมที่เหลือใหคงอยูและยั่งยืนอยางเขมงวด
                                      (1.1.2)  ในกรณีที่มีการลักลอบหรือบุกรุกพื้นที่ปาไม ใหดําเนินการปองกัน

               ปราบปรามการลักลอบตัดไมทําลายปาไมอยางเขมงวด และมีผลการปฏิบัติอยางตอเนื่อง ดําเนินการ
               กับผูบุกรุกอยางเด็ดขาด เรงรัดการจับกุมผูบุกรุกปาไม โดยจัดลําดับความเรงดวนกับผูบุกรุกรายใหญ

               เปนลําดับแรก แลวดําเนินการกับรายอื่นๆ ตอไป เรงดําเนินการปลูกปาทดแทนอยางรวดเร็ว
               โดยกําหนดพันธุไมที่เหมาะสม
                                      (1.1.3)  จําแนกพื้นที่ที่มีความเสี่ยง ลอแหลมตอการลักลอบหรือบุกรุกพื้นที่

               ปาไมเพื่อกําหนดและจัดลําดับความสําคัญของพื้นที่เปาหมายในการตรวจสอบ
                                      (1.1.4)  นําเทคโนโลยีที่เหมาะสมและทันสมัยมาใชปองกันการลักลอบ

               หรือบุกรุกพื้นที่ปาไม
   114   115   116   117   118   119   120   121   122   123   124