Page 44 - แผนการใช้ที่ดินพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของประเทศไทย 2566
P. 44

2-30





                  อุณหภูมิหองปกติ (28 - 30 องศาเซลเซียส) ควรใชสารเคลือบผิวในการชวยลดการสูญเสียน้ำจาก

                                                                                                      ั
                  ผลิตผล ลดอัตราการหายใจ ชะลอการสุก ลดการแลกเปลี่ยนกาซออกซิเจนระหวางบรรยากาศกบ
                  ผลผลิต ทำใหผลสมโอยังคงมีคุณภาพการรับประทานดี แตการใชสารเคลือบผิวที่มีความเขมขนสูง
                  เกินไปอาจมีผลเสียทำใหสมโอมีรสชาติไมสม่ำเสมอ นอกจากนี้ยังสามารถเก็บรักษาผลผลิตดวยวิธีการ

                  เก็บรักษาในสภาพบรรยากาศควบคุม (CA - storage) โดยการทำใหสภาพบรรยากาศมีออกซิเจนต่ำ (2 - 5
                                                                                       ่
                                                                                                     ี
                                                                    
                  เปอรเซ็นต) หรือมีคารบอนไดออกไซดสูง (3 - 10 เปอรเซ็นต) จะชวยชะลอการเปลียนแปลงทางเคมใน
                           
                  กระบวนการสุก และเสื่อมสภาพภายในผลไมเชนเดียวกับการใชสารเคลือบผิว แตการเก็บในสภาพที่ม ี
                  การควบคุมสัดสวนของกาซที่แนนอนและคงที่ ชวยควบคุมการเปลี่ยนแปลงคุณภาพของผลิตผลไดดีขึ้น
                                    (2.3) การบรรจุหีบหอ
                                           รายละเอียดบนฉลากหรือหีบหอ ตองมีคำวา สมโอขาวใหญสมุทรสงคราม
                  หรือมีคำวา Som-O Khaoyai Samutsongkhram หรือ Samutsongkhram Khaoyai Pomeloหรือ
                  Pomelo Khaoyai Samutsongkhram ดวยก็ได รวมทั้งมีการระบุชื่อเกษตรกร และที่อยูที่สามารถติดตอ

                  ได เพื่อสรางความมั่นใจใหกับผูบริโภควาไดรับสินคาตามที่ตองการ
                                  (3)  การผลิตสมโอนอกฤดูกาล
                                     การผลิตสมโอนอกฤดูเปนแนวทางการสงเสริมใหเกิดการกระจายของการใหผล
                  ผลิตสำหรับสวนเกษตรกรที่ปลูกเพื่อการคา เพื่อลดผลกระทบดานราคาในชวงที่ผลผลิตสมโอออกมาสู 

                  ตลาดมาก เนื่องจากสามารถกำหนดเวลาใหผลผลิตออกสูตลาดไดตามชวงเวลาที่ตลาดตองการ เชน ชวง
                                                                
                  เทศกาลตรุษจีน (มกราคม - กุมภาพันธ) เทศกาลปใหมและสารทจีน (สิงหาคม - กันยายน) โดยสมโอท ่ ี
                  ออกสูตลาดในชวงนี้จะมีราคาสูงขึ้น
                                   ขั้นตอนการผลิตสมโอนอกฤดูกาล วิธีการที่นิยมใชในพื้นที่ คือ การกักน้ำหรืออด

                                                                                            ิ่
                  น้ำตนสมโอ โดยหากตองการผลผลิตสมโอชวงเดือนมกราคม - กุมภาพันธ ใหการตัดแตงกงทไมสมบูรณ 
                                                                                                
                                                                                              ี่
                  ออกกอนเริ่มกักน้ำในชวงเดือนเมษายน การกักน้ำจะทำใหตนสมโอมีอาการเฉาและใบมีลักษณะหอ
                  หลังจากนั้นจึงมีการใหน้ำในชวงเดือนพฤษภาคม เพื่อบังคับใหตนสมโอออกดอกในเดือนมิถุนายน -
                  กรกฎาคม และสามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตได เมื่อผลสมโอมอายุประมาณ 8 เดือน หลังจากออกดอก โดย
                                                                 ี
                  กอนที่จะเก็บผลิตผลสมโอ 2 สัปดาห ควรหยุดการใหน้ำเพื่อใหตนสมโอสะสมอาหารในผล ซึ่งวิธีนี้จะ
                  ชวยใหสมโอมีรสชาติหวาน และชวยกระตุนใหสมโอติดดอกออกผลในรุนตอไปอีกดวย
                             5) มะพราวน้ำหอมบานแพว

                                (1)  การจัดการระบบการเพาะปลูก
                                    (1.1) การเตรียมพันธุ
                                         การคัดเลือกผลมะพราวน้ำหอมบานแพวสำหรับนำมาขยายพันธุ ควร
                  คัดเลือกผลจากตนที่มีความหอมหวานในแปลงแมพันธุที่มีอายุ 11 - 12 เดือน เพราะหากอายุผลออน
                  กวานี้ เมื่อนำไปเพาะจะทำใหเปอรเซ็นตการงอกต่ำมาก หรือไดตนกลาที่เจริญเติบโตไมสมบูรณ

                  นอกจากนีควรเปนผลจากตนแมพันธุที่มีอายุ 10 ปขึ้นไป สำหรับการเตรียมผลมะพราวกอนเพาะ เพื่อให
                           ้
                  ไดตนพันธุที่มีความสมบูรณแข็งแรงใหปาดเปลือกดานบนบริเวณใกลหัวจุกขนาดเทาฝามือ กอนนำไป
                                                                                                 ิ
                                                                               ี่
                  เพาะในแปลง หลังจากที่ผลพันธุเริ่มงอกเปนตนกลา ควรคัดเลือกตนกลาทมีความสมบูรณ โดยพจารณา






                  แผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย           กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
                                         
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49