Page 40 - แผนการใช้ที่ดินพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของประเทศไทย 2566
P. 40

2-26





                                3) ลิ้นจี่คอมสมุทรสงคราม

                                   (1) การจัดการในระบบการเพาะปลูก
                                       (1.1) การเตรียมพันธุ
                                            ปจจุบันการปลูกลิ้นจี่คอมสมุทรสงครามนิยมใชตนพันธุที่ไดจากการ

                  ขยายพันธุแบบไมอาศัยเพศดวยวิธีการตอนกิ่ง เนื่องจากเปนวิธีการที่งาย ตนพันธุที่ไดไมกลายพันธุ  
                                                                     ี
                                    ิ่
                                                       ั
                  ขั้นตอนของการตอนกงเริ่มจากการเลือกกิ่งพนธุจากตนแมที่มความแขงแรงสมบูรณ ปราศจากโรค และ
                                                                  
                                                                            ็
                  ใหผลผลิตตอตนสูง โดยเลือกตอนกิ่งที่ไมแกหรือออนจนเกินไป สังเกตไดจากใบเริ่มเปลี่ยนจากใบออน
                  เปนใบแก กิ่งมีสีน้ำตาลอมเขียวผิวเรียบไมขรุขระ ภายหลังจากตอนกิ่งแลวเสร็จประมาณ 30 - 45 วัน
                  กิ่งตอนที่สมบูรณจะมีการเกิดรากใหมเปนสีขาวและมีความยาวเพียงพอที่จะสามารถทำหนาที่เลี้ยง
                  กิ่งใหมได จึงจะตัดและนำไปปลูกชำไวในโรงเรือนประมาณ 1 เดือน กอนนำไปปลูกตอไป
                                       (1.2) การเตรียมดินและการปลูก
                                            สภาพพื้นที่ที่ใชปลูกลิ้นจี่คอมสมุทรสงครามมีลักษณะเปนที่ราบลุม มีการ

                                                                                                      ึ
                  ระบายน้ำเลว และมีระดับน้ำใตดินสูง การเตรียมพื้นที่ปลูกควรมีการยกรองใหแปลงมีระดับดินสูงขน
                                                                                                      ้
                  เพื่อใหรากพืชสามารถเจริญเติบโตไดดี ระหวางแปลงมีรองน้ำ สามารถเก็บกักน้ำไวใชในฤดูแลง
                                                  ู
                  และชวยระบายน้ำออกจากแปลงในฤดฝน ขนาดของแปลงกวางประมาณ 6 เมตร รองน้ำกวาง ประมาณ
                  2 เมตร และลึกประมาณ 1 เมตร สำหรับการปลูกลิ้นจี่ใชระยะปลูกระหวางตนประมาณ 8 - 10 เมตร

                  หรือตามความเหมาะสมของแตละพื้นที่ โดยหลุมปลูกมีขนาดกวาง ยาว ลึก ประมาณ 50 - 80
                                                                                                  
                                                                                        
                                                                                     ั
                  เซนติเมตร ในการขุดหลุมปลูกใหแยกดินบนและดินลาง นำดินบนผสมคลุกเคลากบปุยคอกหรือปุยหมก
                                                                                                      ั
                  ที่ยอยสลายดีแลว อัตรา 3 : 1 โดยปริมาตร หลังจากนั้นนำกิ่งพันธุลิ้นจี่ที่เตรียมไวปลูกตรงกลางหลุม
                  แลวกลบดินบริเวณปากหลุมใหสูงกวาดินเดิมประมาณ 15 เซนติเมตรหรือตามความเหมาะสมแลวใช
                                       ื่
                  ไมหลักปกใหถึงกนหลุมเพอกันลมโยก และหาวัสดุพรางแสงแดด เชน ทางมะพราว หรือกิ่งไมทมใบใหญ
                                                                                                ี่
                                                                                              
                                                                                                 ี
                  พรางแสงแดดทางทิศตะวันออกและทิศตะวันตก และควรมีการใหน้ำอยางสม่ำเสมอในชวงแรกของการปลูก
                                            ิ
                  เพื่อใหตนลิ้นจี่สามารถเจริญเตบโตตอไปได อยางไรก็ตามการปลูกลิ้นจี่คอมสมุทรสงครามสามารถปลูก
                  ไดตลอดป แตชวงเวลาที่เหมาะสมควรปลูกในชวงตนฤดูฝน เนื่องจากสภาพภูมิอากาศเหมาะสมกบ
                                                                                                      ั
                  การเจริญเติบโตของตนกลา
                                         (1.3)  การใหน้ำ การใสปุยและการดูแลรักษา
                                              การใหน้ำตนลิ้นจี่ที่ปลูกใหมในระยะ 2 ปแรก โดยทั่วไปปริมาณน้ำท ่ ี

                  ตองใหประมาณ 20 - 60 ลิตร ตอระยะเวลาการใหน้ำ 4 - 5 วัน สำหรับตนลิ้นจี่อายุ 3 ปขึ้นไป ในชวง
                  ฤดูแลงตองใหน้ำสม่ำเสมอ อยางนอยเดือนละ 2 ครั้ง แตในชวงเดือนพฤศจิกายน กอนลิ้นจี่จะออกดอก
                                                                                       
                                                                                                    ็
                  ควรงดการใหน้ำ เพื่อไมใหลิ้นจี่แตกใบออน หลังจากนั้นเมื่อลิ้นจี่เริ่มแทงชอดอกประมาณ 50 เปอรเซนต
                                                  
                  ควรเริ่มใหน้ำในปริมาณทีนอยบริเวณรอบนอกทรงพุม จากนั้นคอยเพิ่มปริมาณการใหน้ำบริเวณทรงพม
                                       ่
                                                                                                      ุ
                                                                                                      
                  ใหมากขึ้น สัปดาหละ 2 ครั้ง และควรงดการใหน้ำกอนการเก็บเกี่ยวผลผลิต 7 - 10 วัน สวนวิธีการใหน้ำ
                                                            
                  ตนลิ้นจี่สามารถทำไดหลายวิธี ซึ่งวิธีที่เกษตรในพื้นที่นิยมปฏิบัติ คือ การขังน้ำในรองจนถึงระดับที่พช
                                                                                                      ื
                  สามารถใชประโยชนได รวมกับการใชเครื่องสูบน้ำขึ้นมารดตนพืช หรือบางแปลงมีการใหน้ำผานระบบ
                  สปริงเกลอร ซึ่งวิธีการนี้จะชวยประหยัดน้ำและการกระจายน้ำสม่ำเสมอ สำหรับการใหปุย ตนลิ้นจี่ใน
                  ระยะที่ยังไมใหผลผลิต (อายุ 1 - 3 ป) ใหใสปุยสูตร 15 - 15 - 15 อัตรา 500 กรัมตอตน โดยแบงใส 3





                                         
                  แผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย           กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45