Page 42 - แผนการใช้ที่ดินพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของประเทศไทย 2566
P. 42

2-28





                                4) สมโอขาวใหญสมุทรสงคราม

                                   (1)  การจัดการในระบบการเพาะปลูก
                                       (1.1) การเตรียมพันธุ
                                                                                              ี่
                                          ปจจุบันการปลูกสมโอขาวใหญสมุทรสงครามนิยมใชตนพันธุทไดจากการ
                  ขยายพันธุแบบไมอาศัยเพศดวยวิธีการตอนกิ่ง โดยซื้อตนพันธุจากสวนสมโอที่ในพื้นที่ที่ปราศจากโรค
                  และมีความนาเชื่อถอ หรือจากการตอนกิ่งพันธุจากตนแมภายในสวนของตนเอง ซึ่งขั้นตอนของการตอน
                                  ื
                                                                 ้
                  กิ่งสมโอจะเหมือนกันกับการตอนกิ่งพืชโดยทั่วไป ทังนีในการตอนกิ่งสมโอควรเลือกทำในชวงฤดูฝน
                  เนื่องจากมีสภาพแวดลอมที่เหมาะสมตอการกระตุนใหสรางรากใหม ภายหลังจากตอนกิ่งแลวเสร็จ

                                        ี
                                  ิ
                                                                                              ่
                                        ่
                                                                                              ี
                                                                
                                                        ิ
                                               
                                                   ี
                  ประมาณ 45 วัน ก่งตอนทสมบูรณจะมการเกดรากใหมเปนสีขาวและมีความยาวเพียงพอทจะสามารถ
                  ทำหนาที่เลี้ยงกิ่งใหมได จึงจะตัดและนำไปปลูกชำไวในโรงเรือนจนกวารากจะแข็งแรงกอนนำไปปลูก
                   
                  ตอไป
                                       (1.2) การเตรียมดินและการปลูก
                                           การเตรียมพื้นที่สำหรับสวนที่จะปลูกสมโอใหมในพื้นที่จังหวัด
                  สมุทรสงครามที่มีลักษณะภูมิประเทศเปนที่ราบลุม ควรมีการยกรองใหเปนแปลงใหระดับดินสูงกวา
                             ิ
                  ระดับน้ำปกต 80 - 100 เซนติเมตร โดยขนาดของแปลงกวางประมาณ 6 เมตร รองน้ำกวาง ประมาณ
                  1.5 เมตร ทองรองน้ำกวาง ประมาณ 50 - 70 เซนิเมตร และลึกประมาณ 1 เมตร หรือขนาดตามความ
                  เหมาะสมของพื้นที่ เพื่อชวยระบายน้ำ และการใหน้ำภายในแปลง กอนปลูกมีการไถเตรียมดินละปรับ
                  พื้นที่ใหสม่ำเสมอ สำหรับวิธีการปลูกสมโอบนแปลงที่มีการยกรองจะปลูกเปนแถวเดียวใชระยะปลูก
                  ระหวางตนประมาณ 6 เมตร โดยหลุมปลูกมีขนาด 50 × 50 × 50 เซนติเมตร ในการขุดหลุมปลูกให
                  แยกดินบนและดินลาง นำดินบนผสมคลุกเคลากับปุยคอกหรือปุยหมักที่ยอยสลายดีแลวกลบลงไปให

                  เต็มหลุม และขุดหลุมตรงกลางหลุมปลูกอีกครั้งใหมีขนาดพอที่จะสามารถนำกิ่งพันธุสมโอลงไปปลูกได
                                                                                                       
                                                            ื
                                                                                                  ่
                                         
                                                     
                                                               ั
                  จากนันใชดนกลบแลวนำไมหลักปกใหถึงกนหลุมเพ่อกนลมโยก หลังปลูกควรมีการใหน้ำอยางสมำเสมอ
                       ้
                            ิ
                                                              ็
                  จนกวากิ่งสมโอทปลูกใหม เริ่มแตกใบออน และตนแขงแรงดีแลว จึงคอยลดปริมาณการใหน้ำลง ในการ
                                                  
                                ี่
                  ปลูกสมโอใหมในพื้นที่ มีเกษตรกรบางรายใชวิธีการปลูกพืชอื่นแซมดานขางและหลังจากพืชแซม
                                                     
                  เจริญเติบโตไดประมาณ 1 ป จึงเสียบกิ่งเขากับตนสมโอ โดยพืชแซมนั้นตองไดมาจากการขยายพันธุแบบ
                                                                                          ื
                                                                                             ี่
                  เพาะเมล็ด ซึ่งจะมีรากแกว เพื่อชวยพยุงลำตนและชวยดูดธาตุอาหารใหกับพืชหลัก ซึ่งพชทเกษตรเลือก
                  นำมาใชสำหรับวิธีการนี้ เชน มะกรูด มะนาว หรือสมโอพันธุขาวแปน เปนตน อยางไรก็ตามการปลูกสม
                  โอนครชัยศรีสามารถปลูกไดตลอดป แตชวงเวลาที่เหมาะสมควรปลูกในชวงตนฤดูฝน เนื่องจากสภาพ
                                                                      
                  ภูมิอากาศมีเหมาะสมกับการเจริญเติบโตของตนพันธที่ปลูกใหม
                                       (1.3) การใหน้ำ การใสปุยและการดูแลรักษา
                                                                                             ี่
                                                                                   ึ
                                                                               
                                             ตนสมโอในแตละชวงอายุตั้งแตเริ่มปลูกใหมจนถงชวงระยะทเจริญเติบโต
                                                     ั
                                                                                                   ั่
                  ดีแลว มีความตองการการใชน้ำที่แตกตางกน ซึ่งในระยะที่ปลูกสมโอใหม ๆ จนถึงอายุ 3 ป ตองหมนให
                  น้ำปริมาณคอนขางมากและสม่ำเสมอ สำหรับตนสมโออายุ 3 ปขึ้นไป อาจใหน้ำประมาณ 3 วันตอครั้ง
                  หรือใหเปนครั้งคราวตามความจำเปน สวนวิธีการใหน้ำตนสมโอสามารถใหผานระบบสปริงเกลอร โดยใช
                  หัวจายน้ำแบบมินิสปริงเกลอร ใหวางจุดของหัวมินิสปริงเกลอรหางจากโคนตนประมาณ 1.5 เมตร
                  เนื่องจากรัศมีของน้ำจะกระจายตามแนวรากของตนสมโอพอดี หรือบางสวนใชวิธีการสูบน้ำจากรองสวน




                  แผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย           กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
                                         
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47