Page 46 - แผนการใช้ที่ดินพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของประเทศไทย 2566
P. 46

2-32





                  ใสปุยสูตร 13 - 13 - 21 อัตรา 2 กิโลกรัมรวมกับปุยแมกนีเซียมซัลเฟต อัตรา 300 กรัมตอตน หรือใน

                  กรณีที่ตนมะพราวใหผลผลิตแลวใหใสปุยสูตร 13 - 13 - 21 อัตรา 3 กิโลกรัมรวมกับปุยแมกนีเซียม
                  ซัลเฟต อัตรา 400 กรัมตอตนหรือใสปุยสูตร 16 - 16 - 16 อัตรา 3 กิโลกรัมกรัมตอตนทุก ๆ 3 เดือน
                                                                           ิ
                  ทั้งนี้วิธีการใสปุยควรโรยบนพื้นดินภายในบริเวณทรงพุมแลวพรวนดนกลบ สวนการดูรักษาดานอื่น ๆ
                  ไดแก การตัดทางใบแก เพื่อชวยลดการคายน้ำ เนื่องจากทางใบแกมีอัตราการคายน้ำสูงแตม  ี
                  ประสิทธิภาพในการสังเคราะหแสงต่ำ จึงควรตัดทิ้งแลวนำไปคลุมโคนตน เพื่อชวยรักษาความชืนใหกบ
                                                                                                      ั
                                                                                                 ้
                  ตนมะพราวในชวงฤดูแลง การกำจัดวัชพืช โดยเฉพาะในชวงฤดูฝนควรมีการกำจัดวัชพืชทั้งบนสันรอง
                  และทองรอง เพื่อใหงายตอการเก็บเกี่ยวและลำเลียงผลผลิตออกจากแปลง

                                    (1.4) การเก็บเกี่ยวผลผลิต
                                         มะพราวน้ำหอมบานแพวสามารถใหผลผลิตไดหลังจากปลูกแลว 2 ป โดยตน
                                
                                                                                                    
                  ที่มีความสมบูรณสามารถใหผลผลิตไดตลอดป สำหรับผลผลิตมะพราวมี 3 ประเภท แบงตามความออน
                  แกของผลผลิต ไดแก มะพราวชั้นเดียว คือ มะพราวที่เริ่มมีการสรางเนื้อ โดยเนื้อที่อยูภายในกะลาม ี
                  ลักษณะเปนวุนบาง ๆ ประมาณครึ่งผล น้ำยังไมหวาน มีรสเปรี้ยวและซาลิ้น ยังไมเหมาะสำหรับนำไป
                                              ื
                  บริโภค (อายุ ๑๗๐ วัน หรือ ๕ เดอน ๒ สัปดาห) มะพราวชั้นครึ่ง คือ มะพราวที่เริ่มสรางเนื้อมากขนจน
                                                                                                   ึ้
                  เต็มกะลา แตบริเวณสวนขั้วผลยังมีลักษณะเปนวุนอยูบาง น้ำเริ่มมีความหวานมากขึ้น (นับจากหลังจัน
                                                                                                      ่
                  บาน ๑๘๐ - ๑๘๕ วัน หรือ ๖ เดือน) และมะพราว ๒ ชั้น คือ มะพราวที่มีการสรางเนื้อจนเต็มกะลา
                  เนื้อหนา ออนนุมพอดี สามารถนำไปบริโภคไดทั้งผล น้ำมีความหวานหอม ความหวานประมาณ 6.6 - 7
                  องศาบริกซ เหมาะสำหรับทำมะพราวเผา ทำขนมตาง ๆ (นับจากหลังจั่นบาน ๒๐๐ - ๒๑๐ วัน หรือ ๖
                  เดือน ๒ สัปดาห) ซึ่งผลผลผลิตแตละประเภท เกษตรกรจะเลือกเก็บตามความตองการของตลาดเปน
                                                                                                
                  หลัก สวนวิธีการเก็บผลผลิตเกษตรกรจะใชวิธีการตัดทะลายมะพราวทมอายุตามตองการลงในทองรองท ี่
                                                                             ี
                                                                           ี่
                                                ั
                                                                                               ี
                  มีน้ำขัง และใชเชือกผูกทะลายรวมกน เพื่อลำเลียงผลผลิตออกจากแปลง หรือบางแปลงอาจมการใชเรือ
                  ในการขนยายผลผลิต จากนั้นนำมารวบรวมกอนเคลื่อนยายผลผลิตใสรถบรรทุก เพื่อจำหนายหรือสงเขา
                                                                                                      
                  โรงงานแปรรูปตอไป ซึ่งสวนใหญแลวจะมีพอคาในทองถิ่นมารับซื้อผลผลิตถึงแปลงโดยที่เกษตรกร
                  เจาของไปไมตองนำไปจำหนายเอง
                                (2)  การจัดการหลังการเก็บเกี่ยว
                                    (2.1) การเก็บรักษาผลผลิต
                                         หลังจากเก็บผลผลิตมะพราวจากตนแลวใหขนยายมารวมกันในที่รมเพื่อทำ

                  การปอกเปลือกเอาสวนสีเขียวออกหมดและแตงรูปทรง จากนั้นนำมาแชในสารเคมี เพื่อรักษาผิวกะละ
                  ใหขาวและยับยั้งการเจริญของเปลือก สารเคมีที่นิยมใช คือ เกลือซัลไฟตของโซเดียมหรือโพแทสเซียม
                  ความเขมขน 3 เปอรเซ็นต นาน 3 นาที หลังจากนั้นจะหอผลดวยแผนฟลมพีวีซี เพื่อรักษาความสดของ
                  ผล ถาตองการเก็บรักษาไวเปนเวลานานหรือเพือการสงออกจะตองเก็บไวที่อุณหภูมิตำ ประมาณ 2 - 4
                                                                                         ่
                                                         ่
                  องศาเซลเซียส
                                    (2.2) การบรรจุหีบหอ
                                         รายละเอียดบนฉลากหรือหีบหอ ตองมีคำวา มะพราวน้ำหอมบานแพว หรือม ี
                                                                                                
                                                                                                      ่
                  คำวา Banphaeo Aromatic หรือ Mapraaonamhom Banpharo ดวยก็ได รวมทั้งมีการระบุชือ
                  เกษตรกร และที่อยูที่สามารถติดตอได เพื่อสรางความมั่นใจใหกับผูบริโภควาไดรับสินคาตามที่ตองการ





                                         
                  แผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย           กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51