Page 48 - แผนการใช้ที่ดินพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของประเทศไทย 2566
P. 48

2-34





                  ประมาณ 1.5 เมตร เนื่องจากรัศมีของน้ำจะกระจายตามแนวรากของตนสมโอพอดี หรือบางสวนใช

                  วิธีการสูบน้ำจากรองสวนผานทอพีวีซี (PVC) ที่วางตามแนวกลางแปลงและมีวาลวน้ำเชื่อมตอกับสาย
                  ยางสำหรับเปดรดตนพืช สำหรับการใสปุยในระยะที่ลำไยอายุ 1 - 3 ป หรือยังไมใหผล ใหใสปุยคอก ปุย
                                                                                          ั
                                 
                  หมัก หรือปุยมูลคางคาว ผสมกับปุยเคมีสูตร 15 - 15 - 15 หรือใชปุยสูตร 25 - 7  - 7 อตรา 100 - 150
                  กรัมตอตนตอครั้ง โดยใส 3 - 4 ครั้งตอป เมื่อตนลำไยอายุ 3 ปขึ้นไป เปนชวงที่ตนลำไยเริ่มใหผลผลิต
                  การใสปุยจะแตกตางกันไปตามชวงของการออกดอกติดผล กลาวคือ หลังจากที่เก็บเกี่ยวผลผลิตแลวให
                                                                  ิ
                                                                                                      ื่
                  ใสปุยสูตร 16 - 16 - 16 อัตรา 500 กรัมตอตน รวมกับปุยอนทรีย อัตรา 10 - 20 กิโลกรัมตอตน และเมอ
                                                                                                  ิ
                                                                                           ั
                                                                         
                                        
                        ่
                  ลำไยเริมแทงชอดอกใหใชปุยสูตร 10 - 52 - 17 หรือ 10 - 45 - 10 ปุยสูตร 16 - 16 - 16 อตรา 1 กโลกรัม
                  ตอตน ในระยะอาจมีการใหปุยทางใบรวมดวย เพื่อชวยใหมีการสรางดอกและติดผลดีขึ้น ชวงระยะที่ผล
                  เจริญจากขนาดเล็กจนกระทงเจริญเต็มทใหใสปุยสูตร 16 - 16 - 16 หรือปุยสูตร 13 - 13 - 21 อตรา 1
                                                   ี่
                                                                                                  ั
                                         ั่
                  - 3 กิโลกรัมตอตน เพื่อชวยใหผลโตสม่ำเสมอและชวยใหผลผลิตมีรสชาติดี ทั้งนี้วิธีการใสปุยควรโรยบน
                  พื้นดินภายในบริเวณทรงพุม แตระวังอยาใสใหชิดกับโคนตน เพราะอาจจะทำใหตนลำไยไดรับอันตราย
                                        
                  จากความเขมขนของปุยได สวนการดูรักษาดานอื่น ๆ ไดแก การกำจัดวัชพืช โดยเฉพาะอยางยิ่งในชวง
                  ฤดูฝนควรหมั่นกำจัดวัชพืชในแปลง เพื่อปองกันการเปนแหลงสะสมของโรคและแมลง แตตองมีสิ่งปก
                  คลุมดิน เพื่อชวยยึดดินไมใหหนาดินพงทลาย รวมทั้งชวยปองกันการระเหยของน้ำไดอกดวย นอกจากนี ้
                                                 ั
                                                                                         ี
                  หลังการเก็บเกี่ยวผลผลิตตองตัดแตงกิ่งเพื่อควบคุมทรงพุม ลักษณะที่นิยมใชในพื้นที่ คือ ทรงฝาชีหงาย
                  โดยใหตัดกิ่งกระโดงเกา หรือกิ่งในทรงพุมทไมไดรับแสงแดง หลังจากนั้นประมาณ 3 สัปดาห ตนลำไยก ็
                                    
                                                      ี่
                                                                                                
                                                        
                                                                   
                                                          ู
                                                                                                      ั
                  จะเริ่มแตกใบใหม หากตองการผลิตลำไยนอกฤดปลอยใหตนแตกใบประมาณ 3 - 4 ชุดก็สามารถบังคบ
                  ใหลำไยออกดอกไดตอไป
                                    (1.4) การเก็บเกี่ยวผลผลิต
                                                                                                      ึ
                                         การเก็บเกี่ยวผลผลิตลำไยพวงทองบานแพวจะอยูในชวงเดือนพฤศจิกายนถง
                  พฤษภาคม ซึ่งกอนการเก็บเกี่ยวผลผลิตใหตรวจสอบความสุกแกของผล โดยผลลำไยพวงทองบานแพวท  ี่
                                                                       
                                                                                                     
                                                                                                      ็
                  สุกแกเต็มที่จะมีผลโต กลม ผิวสีน้ำตาลออน ไมมีรางแห หรือนับอายุหลังติดผล 150 วัน โดยกอนเกบ
                  ผลผลิตควรงดการใหน้ำประมาณ 7 - 10 วัน ชวงเวลาที่เหมาะสำหรับการเก็บผลผลิตควรเปนชวงท ่ ี
                                                                                                      ื
                  แสงแดดไมจัด เพื่อใหสะดวกตอการปฏิบัติงาน สำหรับวิธีการเก็บผลผลิตจากตนลำไยที่อยูในระดับมอ
                  เอื้อมถึง ใหใชกรรไกรตัดชอผลแลววางลงในตะกราพลาสติกเรียงซอนดวยความระมดระวัง สวนในกรณ ี
                                                                                       ั
                                                                        
                  ที่ชอลำไยอยูสูงเลยระดับมือเอื้อมถึง ควรใชพะองหรือบันไดพาดกิ่งแลวปนขึ้นไปเก็บโดยใชกรรไกรตดชอ
                                                                                                    ั
                  ผลลำไย ความยาวประมาณ 1 ฟุต จากปลายชอไมควรใชมือหัก จากนั้นนำใสตะกราพลาสติกหรือ
                                                                             ิ
                  อุปกรณอื่นที่เตรียมไว และใหเคลื่อนยายผลผลิตไปพักไวในที่อุณหภูมไมสูง เพื่อชวยลดอุณหภูมิของ
                                         ็
                                                                                                    ิ
                  ผลผลิต อยางไรก็ตามการเกบเกยวผลผลิตควรทยอยเกบประมาณ 5 - 7 วันตอครั้ง อยาใหผลแกจัดเกนไป
                                                              ็
                                            ่
                                            ี
                                        ่
                               ุ
                  เพราะจะทำใหคณภาพลดตาลง
                                        ํ
                                (2) การจัดการหลังการเก็บเกี่ยว
                                    (2.1) การเก็บรักษาผลผลิต
                                          หลังจากเก็บผลผลิตจากตนแลว ใหทำการขนยายมารวมกันในที่รมเพื่อทำ
                  การคัดแยกลำไยที่ไมไดคุณภาพออก เชน ลักษณะผลผิดปกติ ผลเล็ก ลีบ ผลแตก ผลถูกโรคแมลงทำลาย
                  เปนตน สวนผลผลิตที่ไดคุณภาพใหทำการคัดแยกขนาดตามมาตรฐาน กอนนำไปจำหนายหรือสงโรงงาน





                                         
                  แผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย           กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53