Page 45 - แผนการใช้ที่ดินพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของประเทศไทย 2566
P. 45

2-31






                                                                                                     
                                                                                                
                  จากลำตนตรง ไมงอ เสนรอบวงบริเวณรอบโคนตนไมนอยกวา 8 เซนติเมตร ใบกวางมีสีเขียวเขม สีกาน
                  ใบมีสีเขียว โดยตนกลาที่จะสามารถนำไปปลูกในแปลงไดตองมีอายุ 5 เดือนขึ้นไป
                                    (1.2) การเตรียมดินและการปลูก
                                         การเตรียมพื้นที่สำหรับสวนที่จะปลูกมะพราวน้ำหอมบานแพวใหมในพื้นท ี ่

                  จังหวัดสมุทรสาครที่มีลักษณะภูมิประเทศเปนที่ราบลุม ตองทำการยกรอง เพื่อปองกันน้ำทวมขังใน
                  แปลงในชวงฤดูฝน โดยใหสันรองอยูสูงกวาระดับน้ำทวมสูงสุด ไมนอยกวา 80 เซนติเมตร ขนาดทองรอง
                  มาตรฐาน คือ รองกวาง 6 - 7 เมตร มีฐานกวาง 6 เมตร และทองรองกวาง 1 เมตร รองนาลึก 80 - 100
                  เซนติเมตร ยกสันรองเปนหลังเตาเพื่อไมใหน้ำทวมขังบริเวณกลางรอง สำหรับวิธีการปลูกมะพราว

                                        ่
                  น้ำหอมบานแพวบนแปลงทมการยกรองจะปลูกเปนแถวเดียวบริเวณกลางสันรองหรือขอบสันรองแตควร
                                          ี
                                        ี
                  ใหหางจากขอบสันรองประมาณ 1 เมตร ใชระยะปลูกระหวางตนประมาณ 6 เมตร โดยหลุมปลูกมีขนาด
                  50 × 50 × 50 เซนติเมตร ในการขุดหลุมปลูกใหแยกดินบนและดินลาง นำดินบนผสมคลุกเคลากับปุย
                  คอก เชน ขี้ไก ขี้วัว หรือปุยหมักที่ยอยสลายดีแลว อัตรา 10 - 15 กิโลกรัมตอหลุม รวมกับหินฟอสเฟต

                  อัตรา 500 กรัมตอหลุมแลวกลบลงไปใหเต็มหลุม และขุดหลุมตรงกลางหลุมปลูกอีกครั้งใหมีขนาด
                  พอที่จะสามารถวางตนกลามะพราวปลูกลงไปได จากนั้นนำตนกลามะพราววางลงหลุม โดยใหใบหันทาง
                  ทิศตะวันออก วางลำตนใหเอียงประมาณ 45 องศา หรือใหลำตนตั้งตรงกได จากนั้นใชดินกลบประมาณ
                                                                              ็
                  2 ใน 3 สวนของผลมะพราว แลวนำไมหลักปกใหถึงกนหลุมเพื่อกันลมโยก สำหรับกรณีที่ตองการปลูก

                                        ิ
                  ทนแทนตนเดิมก็จะปฏิบัตเชนเดียวกันกับการปลูกใหม อยางไรก็ตามการปลูกมะพราวน้ำหอมบานแพว
                  สามารถปลูกไดตลอดป แตชวงเวลาที่เหมาะสมควรปลูกในชวงตนฤดูฝน เนื่องจากสภาพภูมิอากาศม ี
                                                                                                      
                  เหมาะสมกับการเจริญเติบโตของตนพันธที่ปลูกใหม นอกจากนี้การปลูกมะพราวน้ำหอมบานแพวมีขอ
                                                             
                  ควรระวัง คือ ไมควรปลูกใกลกับมะพราวพันธุอื่น โดยเฉพาะอยางยิ่งมะพราวในกลุมตนสูง เนื่องจาก
                  หากปลูกใกลกันมีโอกาสที่จะเกิดการผสมขามพันธุจนกลายพันธุทำใหไมมีความหอม สงผลตอคุณภาพ
                  และราคาที่ลดลง เนื่องจากคุณภาพไมเปนไปตามที่ผูบริโภคตองการ
                                    (1.3) การใหน้ำ การใสปุยและการดูแลรักษา
                                         ในชวงเวลา 1 - 2 ปแรก สำหรับมะพราวปลูกใหม การใหน้ำอยางสม่ำเสมอ

                  เปนสิ่งจำเปนที่จะชวยใหพืชสามารถเจริญเติบโตไดตามปกติ โดยเฉพาะในฤดูแลง ควรใหน้ำอยางนอย
                  สัปดาหละหนึ่งครั้ง และใชเศษหญาคลุมโคนเพื่อรักษาความชื้น สวนมะพราวที่มีอายุตั้งแต 2 ป ขึ้นไป
                                 ่
                  หรืออยูในชวงที่เริมใหผลผลิตมีความตองการน้ำสูงมาก หากพืชขาดน้ำจะทำใหการพัฒนาทางลำตนไม 
                  สมบูรณ การสรางตาดอก การติดผลลดลงหรืออาจไมมีผลผลิต ซึ่งไมคอยพบปญหาดังกลาวในพื้นท ี ่
                                                                                                 
                                                        ี
                  เนื่องจากพื้นที่ปลูกมะพราวน้ำหอมบานแพวมคลองธรรมชาติหลายสายไหลผานทเชื่อมตอกบแมน้ำสาย
                                                                                     ี่
                                                                                             ั
                  หลัก คือ แมน้ำทาจีน สำหรับวิธีการใหน้ำตนมะพราวสามารถทำไดหลายวิธี ซึ่งการใหน้ำดวยสปริง
                  เกลอรเปนวิธีที่มีการใชกันอยางแพรหลาย เนื่องจากสะดวก รวดเร็ว สามารถควบคุมการใหน้ำใหอยูใน
                  รัศมีทรงพุมได นอกจากนี้ยังชวยลดการทวมขังหรือการสูญเสียน้ำออกจากเขตรากพืช ในกรณีที่ดินม ี
                  อัตราการซึมน้ำชา หรือเกษตรกรบางรายมีการใหน้ำโดยใชเรือติดตั้งเครื่องสูบน้ำวิงตามรอง ทั้งนี้ข้นอยู 
                                                                                                   ึ
                                                                                      ่
                                                                                                    ู
                                                                                                      ั
                  กับความคุนชินและประสบการณของเกษตรกร สำหรับการใสปุยควรใสทั้งปุยเคมีและปุยคอกควบคกน
                                                                                          
                  ไป โดยชวงหลังปลูก 4 เดือน ใหเริ่มใสปุยครั้งแรกดวยปุยสูตร 13 - 13 - 21 อัตรา 1 กิโลกรัมรวมกับปุย
                                                                                                  ี่
                  แมกนีเซียมซัลเฟต อัตรา 200 กรัมตอตน และปุยอินทรีย อัตรา 30 - 50 กิโลกรัมตอตนตอป ปท 2 ให



                                         
                  แผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย           กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50