Page 43 - แผนการใช้ที่ดินพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของประเทศไทย 2566
P. 43

2-29






                                                                                                      ื
                  ผานทอพีวีซี (PVC) ที่วางตามแนวกลางแปลงและมีวาลวน้ำเชื่อมตอกับสายยางสำหรับเปดรดตนพช
                  สำหรับการใสปุยควรใสทั้งปุยเคมีและปุยคอกควบคูกันไป ในระยะที่สมโออายุ 1 - 3 ป หรือยังไมใหผล
                  ใหใสปุยคอกผสมกับปุยเคมีสูตร 16 - 16 - 16 อตรา 300 - 500 กรัมตอตนตอครั้ง โดยใส 3 - 4 ครั้งตอ
                                                          ั
                                                                                                      ื
                  ป เมื่อสมโออายุ 4 ปขึ้นไป การใสปุยจะแตกตางกันไปตามชวงของการออกดอกติดผล กลาวคอ
                  หลังจากที่เก็บเกี่ยวผลผลิตแลวใหใสปุยสูตร 16 - 16 - 16 อัตรา 1 กิโลกรัมตอตน เพื่อใหตนสมโอฟนตว
                                                 
                                                                                                      ั
                       ่
                       ื
                                 ่
                                                                                               ิ
                                                                                                      
                                                  ่
                                                                                        ั
                  และเมอสมโอจะเริมออกดอกใหมใหเปลียนมาใชสูตร 8 - 24 -24 หรือ 12 - 24 - 12 อตรา 1 กโลกรัมตอ
                  ตน เพื่อชวยใหมีการสรางดอกดีขึ้น หลังจากติดผลแลวประมาณ 50 วัน ใหใสปุยสูตร 16 - 16 - 16
                                                                 ึ้
                  อัตรา 1 กิโลกรัมตอตน เพื่อชวยใหผลมีการเจริญเติบโตดีขน จนกระทั่งผลมีอายุได 5 - 6 เดือน ใหใสปุย
                  สูตร 13 - 13 - 21 อัตรา 1 กิโลกรัมตอตน เพื่อชวยพัฒนาดานคุณภาพของเนื้อใหดีขึ้นและเพิ่มความ
                  หวานใหมากขึ้น สวนอัตราการใชควรพิจารณาจากขนาดของทรงพุมและจำนวนผลที่ติดในแตละป
                  โดยทั่วไปเมื่อตนสมโออายุได 6 - 7 ป เปนชวงที่มีการเจริญเติบโตเต็มที่ การใสปุยอาจจะใสครั้งละ
                  ประมาณ 1 กิโลกรัม สำหรับตนสมโอที่มีการติดผลมาก ควรมีการใหปุยทางใบรวมดวย ทั้งนี้วิธีการใสปุย
                  ควรโรยบนพื้นดินภายในบริเวณทรงพุม แตระวังอยาใสใหชิดกับโคนตน เพราะอาจจะทำใหเปลือกรอบ
                                                                                                      ั
                                                     
                                                                        ่
                                                                        ื
                  โคนตนสมโอเนาและอาจทำใหสมโอตายได สวนการดูรักษาดานอน ๆ ไดแก การกำจัดวัชพืช ควรหม่น
                  กำจัดวัชพืชในแปลง ประมาณ 2 เดือนตอครั้ง เพื่อปองกันการเปนแหลงสะสมของโรคและแมลง แตตอง
                  มีสิ่งปกคลุมดิน เพื่อชวยยึดดินไมใหหนาดินพังทลาย รวมทั้งชวยปองกันการระเหยของน้ำไดอกดวย
                                                                                              ี
                                       (1.4) การเก็บเกี่ยวผลผลิต
                                             การเก็บเกี่ยวผลผลิตสมโอขาวใหญสมุทรสงครามจจะอยูในระยะ
                  หลังจากออกดอกประมาณ 8 - 9 เดือน โดยจะอยูในชวงเดือนสิงหาคม - ตุลาคม ชวงเวลาเปนชวงท่ม ี
                                                                                                      ี
                  ผลผลิตสมโอที่ออกสูตลาดมากแตผลผลิตยังมีราคาดี เนื่องจากเปนชวงเทศกาลสารทจีนและไหว

                                                       ี่
                  พระจันทร สำหรับผลผลิตสมโอนอกฤดูกาลทออกสูตลาดในชวงเดือนเดือนธันวาคม - มกราคม และชวง
                  เดือนมีนาคม - เมษายน ถึงแมวาจะมีผลผลิตลดลงแตยังมีราคาดี เนื่องจากเปนสินคาที่มีความตองการ
                  บริโภคทั้งในและตางประเทศ
                                 (2)  การจัดการหลังการเก็บเกี่ยว

                                    (2.1) การปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยว
                                           ภายหลังจากเก็บเกี่ยวผลผลิตออกจากแปลงควรวางเรียงไวใหเปนระเบียบ
                  บนพื้นที่สะอาด เพื่อรอการขนสงไปยังโรงคัดบรรจุ เมื่อผลผลิตถึงโรงคัดบรรจุ ทำการคัดเลือกผลผลิตที่ดอย

                  คุณภาพดวยสายตา เชน สมโอออน มีตำหนิ มีโรคและแมลง เปนตน แยกไวตางหาก คัดขนาดและคัด
                                                                         ่
                                                                                                      ั้
                                                                          ั
                                                                         ี
                                                                                                     ี่
                                                                                                  
                  คุณภาพตามมาตรฐานคณภาพของสมโอ ทำความสะอาดผลสมโอทคดคณภาพแลว ติดปายชื่อสินคาทขว
                                                                            ุ
                                      ุ
                                                                                                      
                                                    ู
                  ผลสมโอแลวจึงบรรจุลงกลองกระดาษลูกฟก ขนาดบรรจุ 10 กิโลกรัมตอกลอง แลวขนยายดวยรถพวงสินคา
                              
                  หองเย็นไปยังทาเรือหรือทาอากาศยาน สำหรับจำหนายในตลาดตางประเทศ สวนผลผลิตทรอการสงออกตอง
                                                                                                     
                                       
                                                                                         ี
                                                                                         ่
                                                                     
                  เก็บรักษาที่อุณหภูมิ 15 องศาเซลเซียส ความชื้นสัมพัทธ 85 - 90 เปอรเซ็นต กอนการขนสงไปจำหนาย
                  ยังตลาดตางประเทศตอไป
                                    (2.2) การเก็บรักษาผลผลิต
                                           การเก็บรักษาผลผลิตสมโอใหผลคงลักษณะและคุณภาพไมลดลง ปจจัย
                  ดานอุณหภูมิและความชื้นเปนปจจัยสำคัญ กรณีตองการยืดอายุการเก็บรักษาสมโอในสภาพ
                                         
                  แผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย           กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48