Page 39 - แผนการใช้ที่ดินพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของประเทศไทย 2566
P. 39

2-25






                  การใสปุยตามชวงอายุ โดยครั้งที่ 1 ใสหลังจากปลูก 15 วัน ดวยปุยสูตร 21 - 0 - 0 อัตรา 20 กิโลกรัมตอไร

                                                                  ั
                  ครั้งที่ 2 ใสหลังจากปลูก 25 วัน ดวยปุยสูตร 15 - 15 - 15 อตรา 30 กิโลกรัมตอไร ครั้งที่ 3 ใสหลังจากปลูก
                                                                                                  
                  40 วัน ดวยปุยสูตร 13 - 13 - 21 อัตรา 30 กิโลกรัมตอไร ครั้งที่ 4 ใสหลังจากปลูก 55 วัน ดวยปุยสูตร
                  13 - 13 - 21 อัตรา 30 กิโลกรัมตอไร ซึ่งในการใสปุยแตละครั้งสามารถทำไดหลายวิธี เชน ใชคนหวาน

                  หรือโรยปุยบริเวณโคนตน การใหปุยพรอมกับการใหน้ำผานระบบการใหน้ำหรือใชวิธีละลายน้ำแลว
                                                                                                      ึ
                  นำไปรด วิธีนี้จะใชแรงงานมากและเวลานาน แตมีประสิทธิภาพดี เนื่องจากปุยกระจายไดทั่วถง
                  การดูแลรักษาดานอื่น ๆ ไดแก การกำจัดวัชพืชในแปลง โดยเฉพาะแปลงที่ไมมีการใชวัสดุคลุมแปลง
                                                                                        ื
                  อาจจะมีวัชพืชขึ้นหนาแนน จึงควรมีการกำจัดวัชพืชใหบอยครั้ง เพื่อปองกันไมใหวัชพชคลุมตนพริกชวง
                                                                                                ื
                                                                                  
                  ระยะแรกของการเจริญเติบโต เนื่องจากจะทำใหแคระแกร็นคณภาพผลผลิตไมดี การกำจัดวัชพชอาจใช
                                                                     ุ
                  สารเคมีเทาที่จำเปน หรือใชแรงงานคนถอนหรือหาวัสดุธรรมชาติ เชน ฟางขาว หรือหญาแหง คลุมหนา
                  ดิน เพื่อปองกันวัชพืชขึ้นบนแปลงปลูก
                                      (1.4)  การเก็บเกี่ยวผลผลิต

                                            การเก็บเกี่ยวผลผลิตพริกสด สามารถเก็บครั้งแรกไดเมื่อพริกอายุ
                  ประมาณ 90 - 110 วัน ผลผลิตพริกในระยะแรกจะนอยแตจะเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ และลดลงอีกครั้งเม่อ
                                                                                                      ื
                  ตนพริกเริ่มแก การเก็บเกี่ยวควรเกบทก ๆ 7 วัน โดยใชแรงงานคน โดยทั่วไปพริกสามารถใหผลผลิตไดนาน
                                                ุ
                                              ็
                  6 เดือน อยางไรก็ตามหลังจากเก็บเกี่ยวผลผลิต 4 - 5 ครั้งไปแลว ควรมีการใสปุยสูตร 13 - 13 - 21
                  อัตรา 1 ชอนโตะตอตน รวมกับฉีดฮอรโมน เพื่อกระตนการแตกยอด ออกดอก ติดผลดีขึ้น ภายหลัง
                                                                ุ
                  การเก็บเกี่ยวผลผลิตแตละครั้ง
                                  (2)  การจัดการหลังการเก็บเกี่ยว
                                     (2.1) การเก็บรักษาผลผลิต

                                           พริกสด ภายหลังจากเก็บผลผลิตจากแปลงใหทำการคดแยกพริกที่เนาออก
                                                                                      ั
                  เด็ดขั้วพริกทิ้งแลวนำไปลางใหสะอาด ผึ่งใหแหงแลวหอดวยกระดาษหนา ๆ เชน กระดาษถุงสีน้ำตาล
                  กระดาษชำระเอนกประสงค สามารถเก็บไวในที่แหง หรือจะนำใสกลองปดฝาใหสนิทแลวนำไปแชตูเย็น
                                           พริกแหง สำหรับการทำพริกแหงบางชาง ใหคัดแยกผลแกที่มีสีแดงเขม
                                                                                                      
                  จากนั้นนำไปทำใหแหงโดยตากแดดเปนเวลา 8 - 15 วัน จนแหงสนิท และนำมาพึ่งลมในที่รมเปนเวลา
                  2 - 3 วัน แลวจึงนำมาใสในภาชนะที่สะอาดและแหงสนิท
                                     (2.2) การเก็บพันธุไวใชเอง

                                                      ่
                                           เลือกเก็บผลทแกและมีสีแดงจัดเก็บไวในรมนาน 3 - 5 วัน กอนจะนำมาผา
                                                      ี
                  ตามยาว เพื่อดึงไสพริกออกและเก็บเฉพาะเมล็ดไปตากแดดประมาณ 3 - 4 แดด โดยใหปูแผนกระดาษหรือ
                  พลาสติกไวในบริเวณที่มีแสงสองถึงตลอดทั้งวัน พรอมทั้งกลับเมล็ดพันธุไปมา วันละ 3 - 5 ครั้ง และเกบ
                                                                                                      ็
                  เขาที่รมในชวงตอนเย็น เพื่อปองกันการเปยกชื้นจากน้ำคาง เมล็ดพันธุที่ไดสามารถเก็บไวไดนาน
                  ประมาณ 2 ป

                                     (2.3) การบรรจุหีบหอ
                                          รายละเอียดบนฉลากหรือหีบหอ ตองมีคำวา พริกบางชาง หรือมีคำวา
                                                                                                      
                  Bang Chang Chili Peper หรือ Phrik Bang Chang ดวยก็ได รวมทั้งมีการระบุชื่อเกษตรกร และที่อยูที ่
                  สามารถติดตอได เพื่อสรางความมั่นใจใหกับผูบริโภควาไดรับสินคาตามที่ตองการ





                                         
                  แผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย           กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44