Page 37 - แผนการใช้ที่ดินพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของประเทศไทย 2566
P. 37

2-23






                                (2)   การจัดการหลังการเก็บเกี่ยว

                                    (2.1) การปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยว
                                           ภายหลังจากเก็บเกี่ยวผลผลิตออกจากแปลงควรวางเรียงไวใหเปนระเบียบ
                                                                       ึ
                  บนพื้นที่สะอาด เพื่อรอการขนสงไปยังโรงคัดบรรจุ เมื่อผลผลิตถงโรงคัดบรรจุ ทำการคัดเลือกผลผลิตท ี ่
                  ดอยคุณภาพดวยสายตา เชน สมโอออน มีตำหนิ มีโรคและแมลง เปนตน แยกไวตางหาก คัดขนาด
                                                                                                      ่
                  และคัดคุณภาพตามมาตรฐานคุณภาพของสมโอ ทำความสะอาดผลสมโอที่คัดคุณภาพแลว ติดปายชือ
                  สินคาที่ขั้วผลสมโอแลวจึงบรรจุลงกลองกระดาษลูกฟูก ขนาดบรรจุ 10 กิโลกรัมตอกลอง แลวขนยาย
                         
                                            
                                                                                    
                                                     
                  ดวยรถพวงสินคาหองเย็นไปยังทาเรือหรือทาอากาศยาน สำหรับจำหนายในตลาดตางประเทศ สวนผลผลิต
                               
                   
                  ที่รอการสงออกตองเก็บรักษาที่อุณหภูมิ 15 องศาเซลเซียส ความชื้นสัมพัทธ 85 - 90 เปอรเซ็นต
                  กอนการขนสงไปจำหนายยังตลาดตางประเทศตอไป
                                    (2.2) การเก็บรักษาผลผลิต
                                           การเก็บรักษาผลผลิตสมโอใหผลคงลักษณะและคุณภาพไมลดลง ปจจัย
                  ดานอุณหภูมิและความชื้นเปนปจจัยสำคัญ กรณีตองการยืดอายุการเก็บรักษาสมโอในสภาพ
                  อุณหภูมิหองปกติ (28 - 30 องศาเซลเซียส) ควรใชสารเคลือบผิวในการชวยลดการสูญเสียน้ำจาก
                                                                                                      ั
                  ผลิตผล ลดอัตราการหายใจ ชะลอการสุก ลดการแลกเปลี่ยนกาซออกซิเจนระหวางบรรยากาศกบ
                  ผลผลิต ทำใหผลสมโอยังคงมีคุณภาพการรับประทานดี แตการใชสารเคลือบผิวที่มีความเขมขนสูง

                  เกินไปอาจมีผลเสียทำใหสมโอมีรสชาติไมสม่ำเสมอ นอกจากนี้ยังสามารถเก็บรักษาผลผลิตดวย
                                                                                                      ่
                  วิธีการเก็บรักษาในสภาพบรรยากาศควบคุม (CA - storage) โดยการทำใหสภาพบรรยากาศมีออกซิเจนตำ
                                                                            
                  (2 - 5 เปอรเซ็นต) หรือมีคารบอนไดออกไซดสูง (3 - 10 เปอรเซ็นต) จะชวยชะลอการเปลี่ยนแปลง
                                                         
                                 
                  ทางเคมีในกระบวนการสุก และเสื่อมสภาพภายในผลไมเชนเดียวกับการใชสารเคลือบผิว แตการเก็บใน
                  สภาพที่มีการควบคุมสัดสวนของกาซที่แนนอนและคงที่ ชวยควบคุมการเปลี่ยนแปลงคุณภาพของ
                  ผลิตผลไดดีขึ้น
                                    (2.3) การบรรจุหีบหอ
                                           รายละเอียดบนฉลากหรือหีบหอ ตองมีคำวา สมโอนครชัยศรี หรือมีคำวา

                  Nakonchaisri Pumelo ดวยก็ได รวมทั้งมีการระบุชื่อพันธุสมโอ ชื่อเกษตรกร และที่อยูที่สามารถติดตอได  
                                                                                        
                  เพื่อสรางความมั่นใจใหกับผูบริโภควาไดรับสินคาตามที่ตองการ
                                (3)  การผลิตสมโอนอกฤดูกาล

                                    การผลิตสมโอนอกฤดเปนแนวทางการสงเสริมใหเกดการกระจายของการใหผลผลิต
                                                                             ิ
                                                      ู
                                                
                  สำหรับสวนเกษตรกรทปลูกเพอการคา เพื่อลดผลกระทบดานราคาในชวงที่ผลผลิตสมโอออกมาสูตลาดมาก
                                    ี่
                                          ื่
                  เนื่องจากสามารถกำหนดเวลาใหผลผลิตออกสูตลาดไดตามชวงเวลาที่ตลาดตองการ เชน ชวงเทศกาล
                  ตรุษจีน (มกราคม - กุมภาพันธ) เทศกาลปใหมและสารทจีน (สิงหาคม - กันยายน) โดยสมโอที่ออกสู 
                  ตลาดในชวงนี้จะมีราคาสูงขึ้น
                                   ขั้นตอนการผลิตสมโอนอกฤดูกาล วิธีการที่นิยมใชในพื้นที่ คือ การกักน้ำหรืออด
                  น้ำตนสมโอ โดยหากตองการผลผลิตสมโอชวงเดือนมกราคม - กมภาพันธ ใหเริ่มกักน้ำชวงเดือนเมษายน
                                                                      ุ
                  การักน้ำจะทำใหตนสมโอจะมีอาการเฉาและใบมีลักษณะหอ หลังจากนั้นมีการใหน้ำในชวงเดือน

                  พฤษภาคม เพื่อบังคับใหตนสมโอออกดอกในเดือนมิถุนายน - กรกฎาคม โดยที่สมโอพันธุทองดี สามารถ





                                         
                  แผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย           กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42