Page 41 - แผนการใช้ที่ดินพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของประเทศไทย 2566
P. 41

2-27






                           ่
                                                                                                      ั
                  ครัง ในปที 2 - 3 ใสปุยอินทรีย เชน ปุยคอก ปุยหมัก ปละ 2 ครั้ง อัตรา 10 - 20 กโลกรัมตอตนรวมกบ
                                                                                      ิ
                    ้
                                                                                                      
                  ปุยสูตร 15 - 15 - 15 อัตรา 300 - 400 กรัมตอตนตอครั้ง ปละ 2 - 3 ครั้ง โดยครั้งแรกใสในชวงตน
                  เดือนพฤษภาคม และครั้งที่ 2 - 3 ใสหลังจากตนลิ้นจี่เริ่มแตกใบออนแลว สวนตนลิ้นจี่ที่ใหผลผลิตแลว
                                                                  ่
                  (อายุ 4 ปขึ้นไป) การใสปุยจะแบงเปน 3 ระยะ โดยระยะท 1 จะใสในชวงเดอนพฤษภาคม หลังการเก็บ
                                                                  ี
                                                                                ื
                  เกี่ยวผล และตัดแตงกิ่งแลว เพื่อบำรุงตนใหเจริญเติบโตและสมบูรณ ปุยที่ใช คือ สูตร 15 - 15 - 15
                                                             ่
                                                             ี
                  หรือ 16 - 16 - 16 อัตรา 2 - 5 กิโลกรัมตอ ระยะท 2 ควรใสปุยในชวงเดือนกันยายนถึงตุลาคม ดวยปุย
                                                                                              ี
                                                                                              ่
                  สูตร 12 - 24 - 12 หรือ 8 - 24 - 24 อัตรา 2 - 5 กิโลกรัมตอครั้ง เพื่อเตรียมตนลิ้นจี่ใหพรอมทจะออกดอก
                                     ่
                  ในฤดูกาล และระยะท 3 เปนชวงที่ติดผลแลว โดยจะแบงใส 3 ชวง คือ ชวงที่ผลมีขนาดประมาณ 5
                                     ี
                  มิลลิเมตร ชวงที่มีผลโตขนาดปานกลาง และชวงที่ผลโตเต็มที่ โดยใชปุยสูตร 13 - 13 - 21 อัตรา 1 - 3
                  กิโลกรัมตอตน เพื่อใหผลผลิตมีคุณภาพดี
                                              การดูแลรักษาดานอื่น ๆ เชน การตัดแตงกิ่ง สำหรับตนลิ้นจี่ที่ให
                  ผลผลิตแลว ควรมีการตัดแตงกิ่งประจำทุกป เพื่อใหทรงพุมโปรง ดูแลรักษาสะดวก ปองกันการโคนลม

                  และชวยใหผลดกสมำเสมอ นอกจากนี้ยังตองมีการควบคุมกำจัดวัชพืชเปนระยะ เพื่อไมใหวัชพืชใน
                                   ่
                                                                                                      ิ
                  แปลงมีมากเกินไป และควรคลุมโคนตนดวยวัสดุธรรมชาติ เชน ฟางขาว เพื่อชวยรักษาความชื้นในดน
                  และควบคุมวัชพืชไดอีกดวย
                                         (1.4)  การเก็บเกี่ยวผลผลิต

                                              ลิ้นจี่สามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตไดหลังจากดอกบานประมาณ 4 เดือน
                  โดยผลแกที่สามารถเก็บไดจะมีขนาดโตเต็มที่ สีเปลี่ยนจากสีเขียวเปนสีชมพูปนแดง ฐานของหนามท ี ่
                  เปลือกจะขยายออก ปลายหนามแหลม รองหนามถางออกเห็นไดชัด ชวงเวลาที่เหมาะสำหรับการเกบ
                                                                                                      ็
                                                                                                    ้
                  ผลผลิตควรเปนชวงที่แสงแดดไมจัด สำหรับวิธีการเก็บผลผลิตจะใชพะองหรือบันไดพาดกิ่งแลวปนขึนไป
                  เก็บโดยใชกรรไกรตัดชอผลลิ้นจี่ใสเขง ไมควรใชมือหัก เพราะจะทำใหกิ่งช้ำหรือฉีกขาด สงผลตอการแตกใบ
                  ออนในปตอไป เมื่อเต็มเขงก็จะโรยเชือกลงมาใหคนขางลางขนยายไปคัดขนาดและบรรจุหีบหอตอไป การ
                                         ็
                  เกบเกยวผลผลิตควรทยอยเกบประมาณ 2 - 3 วันตอครั้ง อยาใหผลแกจัดเกินไป เพราะจะทำใหคณภาพตํ่า
                                                                                               ุ
                    ็
                       ี
                       ่
                                    (2)  การจัดการหลังการเก็บเกี่ยว
                                         (2.1)  การเก็บรักษาผลผลิต
                                              หลังจากเก็บผลผลิตลิ้นจี่จากตนแลวจะขนยายมารวมกันในที่รม
                  เพือทำการตัดแตงชอผล ตัดผลเล็ก ผลลีบ ผลแตก และผลที่มีรองรอยการทำลายของโรคแมลงออก
                    ่
                  โดยใชกรรไกรตัดชิดขั้วผลหามใชมือปลิด เพราะจะเกิดรอยแผล ทำใหเกิดโรคภายหลังได สำหรับการ
                  เก็บรักษาผลผลิตใหคงคุณภาพ ภายหลังจากเก็บเกี่ยวผลผลิตแลวตองลดอุณหภูมิโดยเร็ว โดยนําไปจุม
                  น้ำเย็นประมาณ 10 นาที เมื่อผลสะเด็ดน้ำแลว ใหนําไปเก็บไวในหองเย็นที่อุณหภูมิไมเกิน 20 องศา
                  เซลเซียส
                                         (2.2) การบรรจุหีบหอ

                                              รายละเอียดบนฉลากหรือหีบหอ ตองมีคำวา ลิ้นจี่คอมสมุทรสงคราม
                  หรือมีคำวา Samutsongkhram Kom Lychee หรือ Litchi ดวยก็ได รวมทั้งมีการระบุชื่อเกษตรกร และ
                                                    ่
                  ที่อยูที่สามารถติดตอได เพื่อสรางความมันใจใหกับผูบริโภควาไดรับสินคาตามทีตองการ สำหรับผลผลิต
                                                                                     
                                                                                   ่
                                                                       
                  ลิ้นจี่คอมสมุทรคงครามมีจำหนายในชวงเดือนมีนาคมถงเดือนพฤษภาคม
                                                               ึ


                                         
                  แผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย           กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46