Page 38 - แผนการใช้ที่ดินพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของประเทศไทย 2566
P. 38

2-24





                  เก็บเกี่ยวผลผลิตได เมื่อผลสมโอมีอายุประมาณ 7 เดือนครึ่ง ถึง 8 เดือน หลังจากออกดอก สวน

                                                                                                      ่
                  พันธุขาวน้ำผึ้ง สามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตได เมื่อผลสมโอมีอายุประมาณ 6 เดือน ถึง 6 เดือนครึง
                  หลังจากออกดอก
                               2) พริกบางชาง

                                  (1)  การจัดการในระบบการเพาะปลูก
                                     (1.1) การเตรียมพันธุ
                                           พริกบางชางเปนพริกพันธุพื้นเมืองในกลุมพริกชี้ฟา โดยเมล็ดพันธุที่จะ
                  นำไปปลูกตองผานกระบวนการคัดเลือกพันธุที่มีคุณภาพกอนนำไปเพาะในแปลงหรือกระบะเพาะกลา

                  เมื่อตนกลามีอายุ 30 - 40 วัน จึงสามารถยายตนกลาไปปลูกได
                                     (1.2) การเตรียมดินและการปลูก
                                           การเตรียมแปลงสำหรับปลูกพริกมันบางชางตองมีการยกรองเพื่อให
                                                                                                      ิ
                  สะดวกตอการใหน้ำและระบายน้ำออกจากแปลงในชวงฤดูฝน ในการเตรียมดินกอนปลูกใหไถพลิกหนาดน
                                                                                                      ่
                  เพื่อตากดินไวในชวง 7 - 14 วัน ใสปุยคอกหรือปุยหมักอยางนอย 800 - 1,000 กิโลกรัมตอไร เพื่อเพม
                                                                                                      ิ
                  ธาตุอาหารและชวยปรับปรุงสมบัติดินทางกายภาพใหดีขึ้น สำหรับระยะปลูกผันแปรตามขนาดของแปลง
                  เชน ขนาดแปลงปลูกกวาง 120 เซนติเมตร (ใชพลาสติกหนากวาง 120 เซนติเมตร) ปลูก 3 แถวบนแปลง
                  ระยะระหวางตน 40 เซนติเมตร มีชองทางเดินระหวางแปลง 80 เซนติเมตร จะปลูกได 6,000 ตนตอไร
                               
                                                                                          
                                                                                                    
                                                                 
                                                                                                      
                                                                   
                  กรณีปลูกมีการใชจำนวนตนมากถึง 8,000 - 10,000 ตนตอไร (ปลูก 4 แถว และใชระยะระหวางตน
                  35 - 40 เซนติเมตร เวนทางเดินระหวางแปลง 50 - 60 เซนติเมตร) มักพบวาตนพริกที่อยูกลางแปลง
                  ใหผลขนาดเล็กและมีจำนวนผลผลิตนอย อีกทั้งเมื่อเกิดโรคในแปลงจะทำใหการระบาดของโรครวดเร็ว
                  และรุนแรงมากกวา เนื่องจากตนพริกเบียดกันแนน อากาศในแปลงถายเทไมสะดวก ตนที่อยูกลางแปลง
                                                                          
                  มักออนแอเพราะไดรับน้ำและแสงแดดไมเพียงพอ ทั้งนี้หลังจากเตรียมดินและขุดหลุมปลูกแลวเสร็จ
                                   ่
                             
                                    ี
                                   ี
                  สามารถยายตนกลาทมอายุ 30 - 40 วัน จากแปลงเพาะหรือกระบะเพาะกลามาปลูกลงในแปลงได  
                                      (1.3) การใหน้ำ การใสปุยและการดูแลรักษา
                                                      พริกเปนพืชที่ตองการน้ำอยางเพียงพอและสม่ำเสมอ ในชวงแรกของ
                  การเจริญเติบโต ดินควรมีความชุมชื้นพอดี หากเปยกหรือแฉะเกินไปจะทำใหตนพริกเหี่ยวตายได
                  สวนในชวงเก็บผลผลิตควรลดการใหน้ำ เพื่อใหคุณภาพผลผลิตดี มีสีสวย สำหรับวิธีการใหน้ำแปลง
                                      
                  ปลูกพริก สามารถทำได 2 วิธี วิธีการแรก คือ การใหน้ำดวยระบบสปริงเกอรแบบใบพัดหมุนวน วิธีการ
                  นี้มีขอดี คือ น้ำกระจายไดทั่วแปลงและใชเวลาในการใหน้ำสั้น เนื่องจากมีน้ำออกมาจากสปริงเกอรใน
                  ปริมาณมาก แตมีขอเสีย คือ ทำใหพืชเกิดโรคไดงาย เนื่องจากมีความชื้นสูง และวิธีการที่สอง คือ การให
                                                                                                      ้
                  น้ำแบบมินิสปริงเกอรแบบหัวฉีดฝอย วิธีการนี้สามารถควบคุมรัศมีความกวางของน้ำ เพื่อใหความชืน
                  เฉพาะหนาดินบริเวณใตทรงพุม และยังสามารถใหปุยพรอมกับการใหน้ำไดอีกดวย จึงเปนวิธีที่คอนขาง
                  นิยมในพื้นที่ เนื่องจากเปนการ แตมีขอจำกัด คือ ตองใชเวลาในการใหน้ำนานกวาการใหน้ำโดยใชสปริง

                  เกอรแบบใบพัด และหัวฉีดอุดตันไดงาย ดังนั้นน้ำที่ใชตองผานระบบกรองที่ดีพอสมควร สำหรับการใส
                  ปุยควรใสปุยรองพื้นดวยปุยคอก ปุยหมัก อัตรา 800 -1,000 กิโลกรัมตอไร หวานลงแปลงกอนเตรียม
                                                                                                      ั
                                 
                  แปลงหรือใสรองกนหลุม รวมกับปุยสูตร 15 - 15 - 15 อัตรา 30 กิโลกรัมตอไร โดยตองคลุกเคลาปุยกบ
                                                               
                  ดินใหดีกอนปลูก เพื่อไมใหรากตนกลาพริกสัมผัสกับปุยเคมีโดยตรง หลังจากตนพริกเจริญเติบโต ควรม ี




                                         
                  แผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย           กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43