Page 35 - แผนการใช้ที่ดินพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของประเทศไทย 2566
P. 35

2-21






                                  
                  6) ลำไยพวงทองบานแพว
                                       
                                                                      เดือน
                          กิจกรรม
                                         ม.ค  ก.พ  มี.ค  เม.ย  พ.ค  มิ.ย  ก.ค   ส.ค  ก.ย.  ต.ค.  พ.ย.  ธ.ค.

                   การปลูก

                   การใสปุย

                   การกำจัดวัชพืช

                   การปองกันกำจัดศัตรูพืช
                   การตัดแตงทรงพุม

                   การใหน้ำ

                   การบังคับดอก

                   การเก็บเกี่ยวผลผลิต
                        2.3.3 การจัดการระบบการผลิตพืชสิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI)
                             1) สมโอนครชัยศรี
                                (1)  การจัดการระบบการเพาะปลูก

                                    (1.1) การเตรียมพันธุ
                                         การขยายพันธุสมโอมี 2 แบบ คือ แบบอาศัยเพศและไมอาศัยเพศ ซึ่งแตละ
                                                                          
                                                                                 ่
                  แบบมีขอดีขอเสียตางกัน ปจจุบันการปลูกสมโอนครชัยนิยมใชตนพันธุทีไดจากการขยายพันธุแบบ
                  ไมอาศัยเพศดวยวิธีการตอนกง เนื่องจากเปนวิธีการที่งาย ตนพันธุที่ไดไมกลายพันธุ ใหผลผลิตเร็ว ตนไมสูง
                                                                                                     
                                                             
                                         ิ่
                  ทรงตนเปนพุม สะดวกในการเขาไปดูแลรักษา แตมีขอเสียคือ อายุไมยืน และออนแอตอโรค ขั้นตอนของ
                  การตอนกิ่งเริ่มจากการเลือกกิ่งพันธุจากตนแมที่มีความแข็งแรงสมบูรณ ปราศจากโรค ใบขนาดใหญ
                  รสชาติดี และใหผลผลิตตอตนสูง โดยเลือกตอนกิ่งที่ไมแกหรือออนจนเกินไปและควรเปนกิ่งขางที่

                  โดนแสงแดด ไมเลือกกิ่งกระโดง หรือกิ่งที่อยูในทรงพุม หลังจากตอนกิ่งแลวเสร็จประมาณ 1 เดือน
                                                  
                                     ี
                          ี
                  กงตอนทสมบูรณจะมการเกิดรากใหมเปนสีขาวและมีความยาวเพียงพอทจะสามารถทำหนาทเลี้ยง
                                                                                 ่
                                                                                                   ี
                                                                                                   ่
                                                                                 ี
                          ่
                   ่
                   ิ
                                                                         ็
                                                                                          
                                                                              
                  กงใหมได จึงจะตัดและนำไปปลูกชำไวในโรงเรือนจนกวารากจะแขงแรงกอนนำไปปลูกตอไป
                   ิ
                   ่
                                    (1.2) การเตรียมดินและการปลูก
                                         สภาพพื้นที่ที่ใชปลูกสมโอนครชัยศรีมีลักษณะเปนที่ราบลุมริมฝงแมน้ำ
                                                                                        ี
                  ดินเปนดินเหนียวจัด การระบายน้ำเลว มีระดับน้ำใตดินสูง การเตรียมพื้นทปลูกควรมการยกรองใหเปน
                                                                                ี่
                  แปลงใหระดับดินสูงกวาพื้นที่ราบทั่วไป เพื่อใหรากพืชกระจายไดลึกกวาปกติ ระหวางแปลงมีรองน้ำ
                  สามารถเก็บกักน้ำไวใชในฤดูแลง และชวยระบายน้ำออกในฤดูฝน ขนาดของแปลงกวางประมาณ 6 เมตร
                  รองน้ำกวาง ประมาณ 1.5 เมตร ทองรองน้ำกวาง ประมาณ 50 - 70 เซนิเมตร และลึกประมาณ 1 เมตร
                  สำหรับวิธีการปลูกสมโอบนแปลงทมการยกรองจะปลูกเปนแถวเดยวใชระยะปลูกระหวางตนประมาณ
                                               ่
                                                ี
                                               ี
                                                                         ี
                                                                                              
                                                                         ุ
                  6 เมตร โดยหลุมปลูกมีขนาด 50 × 50 × 50 เซนติเมตร ในการขดหลุมปลูกใหแยกดินบนและดินลาง
                                          
                  นำดินบนผสมคลุกเคลากับปุยคอกหรือปุยหมักที่ยอยสลายดีแลว อัตรา 4 - 6 กิโลกรัมตอไรรวมกับ
                  หินฟอสเฟตอัตรา 500 กรัมตอหลุมปลูก หลังจากนั้นนำกิ่งพันธุสมโอที่เตรียมไวปลูกตรงกลางหลุม
                           ิ
                  แลวกลบดนลงไปในหลุมจนเต็มปากหลุมแลวใชไมหลักปกใหถึงกนหลุมเพื่อกันลมโยก และหาวัสด ุ
                                         
                  แผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย           กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40