Page 30 - แผนการใช้ที่ดินพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของประเทศไทย 2566
P. 30

2-16





                  แลวคอยใหน้ำเปนครั้งคราวหรือใหน้ำตามความตองการของพืช อยางไรก็ตามการปลูกมะพราวน้ำหอม

                                                          ื้
                                            ั
                                      
                                            ้
                                                                       
                                                                                                  ี
                                                              ี
                                                                      
                  บานแพวสามารถปลูกไดตลอดทงป เนื่องจากในพนที่มแมน้ำแมทาจีนเปนแหลงน้ำสายหลัก และมคลอง
                  อีกหลายสายไหลผาน ทำใหมีน้ำจากแหลงน้ำธรรมชาติเพียงพอสำหรับใชรดตนมะพราวที่ปลูกใหม 
                                                                                     
                  รวมถึงมะพราวทีใหผลผลิตแลว ถึงแมวาปริมาณน้ำฝนรวมตลอดป (อางอิงขอมูลจากปริมาณน้ำฝนรวม
                                ่
                  ตลอดปของจังหวัดสมุทรสงคราม ชวง พ.ศ. 2559 - 2565) จัดอยูในชั้นความเหมาะสมเล็กนอย คือ
                  อยูในชวง 1,000 - 1,200 มิลลิเมตร ตามหลักการการประเมินคุณภาพที่ดินของ FAO Framework
                  แตไมสงผลกระทบตอการผลิตมะพราวน้ำหอมบานแพวในพื้นท  ี่
                            2) ลำไยพวงทองบานแพว
                                                                                                 ่
                              จากการพจารณาขอมลสมดุลของน้ำเพอการเกษตรจังหวัดสมทรสงคราม (รูปที 2 - 8)
                                                                                   ุ
                                        ิ
                                                                ื่
                                                  ู
                                                                                                      
                  ที่นำมาใชเปนขอมูลอางอิงในการวิเคราะหหาชวงระยะเวลาที่เหมาะสมตอการปลูกลำไยพวงทองบานแพว
                  เขตพื้นที่อำเภอบานแพว และอำเภอกระทมแบน จังหวัดสมุทรสาคร พบวา ชวงเวลาที่เหมาะสมสำหรับ
                                                     ุ
                  การเริ่มลำไยใหมหรือปลูกเพื่อทดแทนตนเดิม ควรปลูกในชวงเวลาระหวางกลางเดือนมีนาคมถึง
                  กลางเดือนธันวาคม ซึ่งในชวงระยะเวลานี้เปนชวงทมีฝนตก ทำใหดินมีความชื้นพียงพอตอการปลูกพืช
                                                             ี
                                                             ่
                  แตถาปลูกในชวงฤดูแลงหรือในชวงที่ดินมีความชื้นนอย (ชวงประมาณปลายเดือนธันวาคมถึงตนเดือน
                                                                              ื
                              ี
                                        ่
                                                                              ่
                                                                                
                  มีนาคม) ตองมการใหน้ำสมำเสมอจนกวาตนลำไยจะตั้งตัวได หลังจากนั้นเมอตนลำไยเจริญเตบโตดแลวคอย
                                                                                           ิ
                                                                                                     
                                                                                                ี
                           
                  ใหน้ำเปนครั้งคราวหรือใหน้ำตามความตองการของพืช อยางไรก็ตามการปลูกลำไยพวงทองบานแพว
                                                                                                      
                                                                                                 ี
                                                              
                  สามารถปลูกไดตลอดทงป เนื่องจากในพื้นที่มีแมน้ำแมทาจีนเปนแหลงน้ำสายหลัก และมคลองอกหลาย
                              
                                     ั
                                     ้
                                                                                           ี
                  สายไหลผาน ทำใหมน้ำจากแหลงน้ำธรรมชาติเพียงพอสำหรับใชรดตนลำไยท่ปลูกใหมรวมถึงลำไย
                                    ี
                                                                                     ี
                  ที่ใหผลผลิตแลว ถึงแมวาปริมาณน้ำฝนรวมตลอดป (อางอิงขอมูลจากปริมาณน้ำฝนรวมตลอดปของ
                  จังหวัดสมทรสงคราม ชวง พ.ศ. 2559 - 2565) จัดอยูในชั้นความเหมาะสมปานกลาง คือ อยูในชวง
                           ุ
                                                            ุ
                                                         ิ
                                                                    ิ
                                                                  ่
                                                                                           
                                                                                             
                  1,100 - 1,200 มิลลิเมตร ตามหลักการการประเมนคณภาพทดนของ FAO Framework แตไมสงผลกระทบ
                                                                  ี
                  ตอการผลิตลำไยพวงทองบานแพวในพื้นท  ี่
                                                                  
                                                    ี
                                                    ้
                                            ื
                                               ่
                  2.3 สภาวะเขตกรรมของพชสิงบงชทางภูมิศาสตร (GI)
                      สิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตร (Geographical Indications หรือ GI) เปนทรัพยสินทางปญญาประเภทหนึ่ง
                  เกิดขึ้นจากความเชื่อมโยงกนระหวางมนุษยกับธรรมชาติ กลาวคือ ชุมชนไดอาศยลักษณะเฉพาะทมอยูตาม
                                        ั
                                                                                                ี่
                                                                                                 ี
                                                                                 ั
                  ธรรมชาติของแหลงภูมิศาสตรนั้น ๆ เชน สภาพดินฟาอากาศหรือวัตถุดิบเฉพาะในพื้นที่นำมาใชประโยชน
                  ในการผลิตสินคาในทองถิ่นของตนขึ้นมา ทำใหไดผลิตภัณฑที่มีคุณลักษณะพิเศษที่มาจากพื้นที่นั้น
                                                          
                   ึ
                  ซ่งกรมทรัพยสินทางปญญามการขนทะเบียนสินคาสิ่งบงชี้ทางภูมศาสตรของประเทศไทยไวหลายประเภท
                                          ี
                                              ึ้
                                                                       ิ
                                                                                                      ิ
                  เชน ขาว ผัก ผลไม อาหาร หัตถกรรม เปนตน เพื่อเปนการเผยแพรประชาสัมพันธขอมูลใหผูบริโภคเกด
                                                                                              
                  ความสนใจทจะไปเยียมชมแหลงผลิตและซอสินคา ซงจะชวยใหชุมชนมรายไดอยางยังยืนตอไป ในท่นี้
                                                                                                      ี
                                                           
                                                      ้
                                                      ื
                             ่
                                                              ่
                                                                                   
                                                                              ี
                                                              ึ
                                   ่
                             ี
                                                                                         ่
                  จะกลาวถึงเฉพาะสิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ประเภท ผัก และผลไม 6 ชนิด ไดแก สมโอนครชัยศรี
                  พริกบางชาง ลิ้นจี่คอมสมุทรสงคราม สมโอขาวใหญสมุทรสงคราม มะพราวน้ำหอมบานแพว และลำไย
                                                             
                  พวงทองบานแพว
                               

                                         
                  แผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย           กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35