Page 27 - แผนการใช้ที่ดินพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของประเทศไทย 2566
P. 27

2-13






                                (3) สมโอขาวใหญสมุทรสงคราม

                                                  
                                                    ู
                                                                                    ุ
                                           ิ
                                  จากการพจารณาขอมลสมดุลของน้ำเพอการเกษตรจังหวัดสมทรสงคราม (รูปที่ 2 - 8)
                                                                  ื่
                                                       
                    ื
                                             ี
                                             ่
                                                                                                  ี
                  เพ่อวิเคราะหหาชวงระยะเวลาทเหมาะสมตอการปลูกสมโอขาวใหญสมทรสงครามในเขตพื้นท่ตำบล
                                                                            
                                                                              ุ
                  บางขันแตก ตำบลทายหาด อำเภอเมือง อำเภออัมพวา (ยกเวนตำบลยี่สารและตำบลแพรกหนามแดง)
                  และอำเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม พบวา ชวงเวลาที่เหมาะสมสำหรับการเริ่มปลูกสมโอใหมหรือ
                                 
                  ปลูกเพื่อทดแทนตนเดิม ควรปลูกในชวงเวลาระหวางกลางเดือนมีนาคมถึงกลางเดือนธันวาคม ซึ่งในชวง
                                    ่
                  ระยะเวลานี้เปนชวงทีมีฝนตก ทำใหดินมีความชื้นพียงพอตอการปลูกพืช แตถาปลูกในชวงฤดูแลงหรือ
                  ในชวงที่ดินมีความชื้นนอย (ชวงประมาณปลายเดือนธันวาคมถึงตนเดือนมีนาคม) ตองมการใหน้ำ
                                                                                               ี
                                                                         ิ
                                                          ่
                  สมำเสมอจนกวาตนสมโอจะตั้งตัวได หลังจากนั้นเมอตนสมโอเจริญเตบโตดีแลวคอยใหน้ำเปนครังคราวหรือ
                                                                                              ้
                                                                                  
                                                          ื
                    ่
                  ใหน้ำตามความตองการของพืช อยางไรก็ตามการปลูกสมโอขาวใหญสมุทรสงครามสามารถปลูกไดตลอด
                  ทั้งป เนื่องจากในพื้นที่มีแมน้ำแมกลองเปนแหลงน้ำสายหลัก และมีคลองสำคัญ เชน คลองอัมพวา
                  คลองลำปะโดง ไหลผาน ทำใหมีน้ำจากแหลงน้ำธรรมชาติเพียงพอสำหรับใชรดตนสมโอที่ปลูกใหม 
                  รวมถึงสมโอที่ใหผลผลิตแลว ถึงแมวาปริมาณน้ำฝนรวมตลอดปจังหวัดสมุทรสงคราม (พ.ศ. 2559 - 2565)
                  จัดอยูในชั้นความเหมาะสมเล็กนอย คือ อยูในชวง 1,100 - 1,200 มิลลิเมตร ตามหลักการการประเมิน
                                                                                                    ื้
                  คุณภาพที่ดินของ FAO Framework แตไมสงผลกระทบตอการผลิตสมโอขาวใหญสมุทรสงครามในพนท  ี่















































                  แผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย           กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
                                         
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32