Page 26 - แผนการใช้ที่ดินพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของประเทศไทย 2566
P. 26

2-12





                  ปริมาณฝนใชการมากที่สุด คือ 145.4 มิลลิเมตร และเดือนธันวาคมเปนชวงที่มีปริมาณฝนใชการ

                       ี
                  นอยท่สุด คอ 13.8 มิลลิเมตร
                            ื
                            5) ความชื้นสัมพัทธและศักยภาพการคายระเหยน้ำ
                              ความชื้นสัมพัทธเฉลี่ยตลอดป 76.3 เปอรเซ็นต ศักยภาพการคายระเหยน้ำเฉลี่ยตลอดป

                  60.8 มิลลิเมตร โดยที่ศักยภาพการคายระเหยน้ำสูงสุดอยูในเดือนพฤษภาคม คือ 68.8 มิลลิเมตร
                  และในเดือนธันวาคมมีศักยภาพการคายระเหยน้ำต่ำสุด คือ 50.2 มิลลิเมตร
                            6) การวิเคราะหชวงฤดูกาลที่เหมาะสมสำหรับการปลูกพืชสิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI)
                                (1) พริกบางชาง

                                                  
                                                    ู
                                                                  ื่
                                           ิ
                                   จากการพจารณาขอมลสมดุลของน้ำเพอการเกษตรจังหวัดสมุทรสงคราม (รูปที่ 2 - 8)
                                           ี
                                           ่
                                                    
                                                                               ี
                                                                                     ั
                  เพื่อวิเคราะหหาชวงระยะเวลาทเหมาะสมตอการปลูกพริกบางชางในเขตพนทอำเภออมพวา อำเภอบางคนท  ี
                                                                            ้
                                                                            ื
                                                                               ่
                  จังหวัดสมุทรสงคราม และอำเภอดำเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี พบวา ชวงเวลาที่เหมาะสมสำหรับ
                  การปลูกพริกบางชาง ควรปลูกในชวงเวลาระหวางกลางเดือนมีนาคมถึงกลางเดือนธันวาคม ซึ่งในชวง
                                    ่
                  ระยะเวลานี้เปนชวงทีมีฝนตก ทำใหดินมีความชื้นพียงพอตอการปลูกพืช อีกทั้งการปลูกพริกในชวงนี้
                  โดยเฉพาะเดือนเมษายนถึงเดือนพฤษภาคม และเดือนสิงหาคมถึงเดือนกันยายนเปนชวงที่พริกมีราคาสูง
                                                                              ี
                                                                              ่
                  แตตองระมัดระวังเรื่องโรคและแมลงรวมถึงความเสียหายจากบางชวงทมีฝนตกมากเกินไป แตถาปลูก
                                          ิ
                                         ่
                                                   ้
                  ในชวงฤดูแลงหรือในชวงทีดนมีความชืนนอย (ชวงประมาณปลายเดือนธันวาคมถึงตนเดือนมีนาคม)
                  ตองมีการใหน้ำสม่ำเสมอเพื่อใหดินมีความชื้นเพียงพอตอการเจริญเติบโตในชวงแรก แตการปลูกพริก
                                                        ่
                                                        ี
                                                     ็
                                 
                  ในชวงนีทำใหงายตอการจัดการแปลงและเกบเกยวผลผลิตรวมถงการนำไปตากเปนพริกแหง อยางไรกตาม
                                                                     ึ
                                                                                                    ็
                              
                         ้
                  การปลูกพริกบางชางสามารถปลูกไดตลอดทั้งป เนื่องจากในพื้นที่มีแมน้ำแมกลองเปนแหลงน้ำสายหลัก
                  และมีคลองสำคัญ เชน คลองอัมพวา คอลงดำเนินสะดวก ไหลผาน ทำใหมีน้ำจากแหลงน้ำธรรมชาต  ิ
                  เพียงพอสำหรับการปลูกพริกบางชางในพื้นท
                                                      ี่
                                (2) ลิ้นจี่คอมสมทรสงคราม
                                        
                                             ุ
                                                    ู
                                                                  ื่
                                           ิ
                                                  
                                   จากการพจารณาขอมลสมดุลของน้ำเพอการเกษตรจังหวัดสมุทรสงคราม (รูปที่ 2 - 8)
                                                                                         ่
                                                                                         ี
                  เพื่อวิเคราะหหาชวงระยะเวลาที่เหมาะสมตอการปลูกลิ้นจี่คอมสมุทรสงครามในเขตพื้นทตำบลบางขันแตก
                                                                                         ่
                  อำเภอเมือง อำเภออัมพวา และอำเภอบางคนท จังหวัดสมทรสงคราม พบวา ชวงเวลาทเหมาะสมสำหรับ
                                                                  ุ
                                                                                         ี
                                                         ี
                  การเริ่มปลูกลิ้นจี่ใหมหรือปลูกเพื่อทดแทนตนเดิม ควรปลูกในชวงเวลาระหวางกลางเดือนมีนาคมถง
                                                                                                      ึ
                                                             ่
                  กลางเดือนธันวาคม ซึ่งในชวงระยะเวลานี้เปนชวงทีมีฝนตก ทำใหดินมีความชื้นพียงพอตอการปลูกพืช
                  แตถาปลูกในชวงฤดูแลงหรือในชวงที่ดินมีความชื้นนอย (ชวงประมาณปลายเดือนธันวาคมถึงตน
                                    ี
                                                               ่
                                                                                            ่
                  เดือนมีนาคม) ตองมการใหน้ำสม่ำเสมอจนกวาตนลิ้นจีจะตั้งตัวได หลังจากนั้นเมื่อตนลิ้นจีเจริญเติบโตด ี
                                                                        
                  แลวคอยใหน้ำเปนครั้งคราวหรือใหน้ำตามความตองการของพืช อยางไรก็ตามการปลูกลิ้นจีคอม
                                                                                                   ่
                  สมุทรสงครามสามารถปลูกไดตลอดทั้งป เนื่องจากในพื้นที่มีแมน้ำแมกลองเปนแหลงน้ำสายหลัก และม ี
                  คลองสำคัญ เชน คลองอัมพวา คลองลำปะโดง ไหลผาน ทำใหมีน้ำจากแหลงน้ำธรรมชาติเพียงพอ
                  สำหรับใชรดตนลิ้นจี่ที่ปลูกใหมรวมถึงลิ้นจี่ที่ใหผลผลิตแลว ถึงแมวาปริมาณน้ำฝนรวมตลอดป
                  จังหวัดสมุทรสงคราม(พ.ศ. 2559 - 2565) จัดอยูในชั้นความเหมาะสมเล็กนอย คือ อยูในชวง
                  1,000 - 1,300 มิลลิเมตร ตามหลักการการประเมินคุณภาพที่ดินของ FAO Framework แตไมสงผล
                  กระทบตอการผลิตลิ้นจี่คอมสมุทรสงครามในพื้นท
                                                           ี่
                                         
                  แผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย           กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31