Page 23 - แผนการใช้ที่ดินพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของประเทศไทย 2566
P. 23

2-9




                  2.2   ภูมิอากาศ


                        2.2.1 ภูมิอากาศจังหวัดนครปฐม
                                         ิ
                            จากขอมูลสถิตภูมิอากาศกรมอุตุนิยมวิทยา (2566) ณ สถานีตรวจวัดอากาศจังหวัดนครปฐม
                  ไดแก อุณหภูมิสูงสุด อุณหภูมิต่ำสุด อุณหภูมิเฉลี่ย ปริมาณน้ำฝน ปริมาณฝนใชการ จำนวนวันฝนตก

                  ความชื้นสัมพัทธ และศักยภาพการคายระเหยน้ำ ในคาบ 16 ป (พ.ศ. 2549 - 2565) สามารถสรุป
                                ี่
                  ไดดังนี้ (ตารางท 2 - 1)
                            1) อุณหภูม  ิ
                              อุณหภูมิเฉลี่ยตลอดป 27.9 องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ยตลอดป 33.5

                                                                                                  ิ
                                                        ี
                                                                                             ุ
                                                                                     ี
                                                                                                    ่
                  องศาเซลเซียส โดยในเดือนเมษายนเปนชวงที่มอณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย 36.3 องศาเซลเซยส และอณหภูมตำสุด
                                                         ุ
                                                                                                   ี
                  เฉลี่ยตลอดป 23.3 องศาเซลเซียส โดยในเดือนมกราคมเปนชวงที่มีอุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ย 19.5 องศาเซลเซยส
                            2) จำนวนวันฝนตก
                              จำนวนวันฝนตกตลอดปรวม 114 วัน โดยเดือนที่มีฝนตกมากที่สุด คือ เดือนกันยายน
                  มีจำนวนวันฝนตก 19 วัน สวนเดือนมกราคมและเดือนกุมภาพันธเปนชวงทีมีจำนวนวันฝนตกนอยทีสุด
                                                                                                     ่
                                                                                ่
                  จำนวนเดือนละ 1 วัน
                            3) ปริมาณน้ำฝน
                              ปริมาณน้ำฝนตลอดปรวม 1,053.1 มิลลิเมตร โดยในเดือนกันยายนมีปริมาณน้ำฝน
                                    ิ
                            ื
                  มากท่สุด คอ 226.3 มลลิเมตร และเดือนมกราคมมีปริมาณน้ำฝนนอยที่สุด คือ 4.5 มลลิเมตร
                                                                                      ิ
                       ี
                            4) ปริมาณฝนใชการ (Effective Rainfall : ER)
                              ปริมาณฝนใชการ หมายถึง ปริมาณน้ำฝนที่เหลืออยูในดิน ซึ่งพืชสามารถนำไปใช
                  ประโยชนได สำหรับจังหวัดนครปฐมมีปริมาณฝนใชการ 804.8 มิลลิเมตร โดยในเดือนกันยายนเปน
                  ชวงที่มีปริมาณฝนใชการมากที่สุด คือ 144.4 มิลลิเมตร และเดือนธันวาคมเปนชวงทมีปริมาณฝนใชการ
                                                                                       ี่
                  นอยที่สุด คือ 4.5 มิลลิเมตร
                            5) ความชื้นสัมพัทธและศักยภาพการคายระเหยน้ำ

                              ความชื้นสัมพัทธเฉลี่ยตลอดป 78.1 เปอรเซ็นต ศักยภาพการคายระเหยน้ำเฉลี่ยตลอดป
                  120.8 มิลลิเมตร โดยที่ศักยภาพการคายระเหยน้ำสูงสุดอยูในเดือนเมษายน คือ 152.4 มิลลิเมตร
                  และในเดือนธันวาคมมีศักยภาพการคายระเหยน้ำต่ำสุด คือ 100.1 มิลลิเมตร
                            6) การวิเคราะหชวงฤดูกาลที่เหมาะสมสำหรับการปลูกพืชสิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI)
                                (1) สมโอนครชัยศรี

                                   จากการพิจารณาขอมูลสมดุลของน้ำเพื่อการเกษตรจังหวัดนครปฐม (รูปที่ 2 - 7)
                  เพื่อวิเคราะหหาชวงระยะเวลาที่เหมาะสมตอการปลูกสมโอนครชัยศรีในเขตพื้นที่อำเภอนครชัยศรี
                  อำเภอสามพราน และอำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม พบวา ชวงเวลาทเหมาะสมสำหรับการเริมปลูก
                                                                                                  ่
                                                                               ี
                                                                               ่
                  สมโอใหมหรือปลูกเพื่อทดแทนตนเดิม ควรปลูกในชวงเวลาระหวางปลายเดือนเมษายนถึงกลางเดือน
                                                       ่
                  พฤศจิกายน ซึ่งในชวงระยะเวลานีเปนชวงทีมีฝนตก ทำใหดินมีความชื้นพียงพอตอการปลูกพืช แตถา
                                               ้
                  ปลูกในชวงฤดูแลงหรือในชวงที่ดินมีความชื้นนอย (ชวงประมาณเดือนธันวาคมถึงเดือนมีนาคม) ตองม ี
                                                        
                  การใหน้ำสม่ำเสมอจนกวาตนสมโอจะตั้งตัวได หลังจากนั้นเมื่อตนสมโอเจริญเติบโตดีแลวคอยใหน้ำเปน






                                         
                  แผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย           กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28