Page 33 - แผนการใช้ที่ดินพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของประเทศไทย 2566
P. 33
2-19
(2) ลักษณะทางกายภาพ
- รูปรางบิดเบี้ยว ปอมรี ปลายผลบานกลม
- ผิวเปลือกเรียบ สีน้ำตาลออน
- เนื้อใสจนเห็นเมล็ด กรอบ เมล็ดขนาดเล็ก รูปทรงโต เนื้อแหง ไมแฉะ
- รสชาติกรอบ แหง ไมแฉะ รสชาติหวานกำลังดี คาความหวานอยูในชวง 18 - 22
องศาบริกซ
2.3.2 ปฏิทินการเพาะปลูกพืชสิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI)
ปฏิทินการเพราะปลูกพืชเปนขั้นตอนกระบวนการหรือวิธีปฏิบัติในการผลิตพืช ตั้งแต
ิ
ขั้นตอนการปลูกจนกระทั่งเก็บเกี่ยวผลผลิต ซึ่งจะมีความแตกตางกันไปในพืชแตละชนิด สำหรับปฏิทน
การเพาะปลูกพืชสิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ไดแก สมโอนครชัยศรี พริกบางชาง สมโอขาวใหญ
สมุทรสงคราม ลิ้นจี่คอมสมุทรสงคราม มะพราวน้ำหอมบานแพว และลำไยพวงทองบานแพว ที่ไดจาก
การรวบรวมขอมูลเอกทางวิชาการที่เกี่ยวของรวมกับขอมูลการปฏิบัติของเกษตร สามารถสรุป
รายละเอียดของพืชสิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) แตละชนิดได ดังนี้
ั
1) สมโอนครชยศรี
เดือน
กิจกรรม
ม.ค ก.พ มี.ค เม.ย พ.ค มิ.ย ก.ค ส.ค ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.
การปลูก
การใสปุย
การกำจัดวัชพืช
การปองกันกำจัดศัตรูพืช
การตัดแตงกิ่ง
การใหน้ำ
การเก็บเกี่ยวผลผลิต
2) พริกบางชาง
เดือน
กิจกรรม
ม.ค ก.พ มี.ค เม.ย พ.ค มิ.ย ก.ค ส.ค ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.
การปลูก
การใสปุย
การกำจัดวัชพืช
การปองกันกำจัดศัตรูพืช
การใหน้ำ
การเก็บเกี่ยวผลผลิต
แผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน