Page 36 - แผนการใช้ที่ดินพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของประเทศไทย 2566
P. 36

2-22





                  พรางแสงแดด เชน ทางมะพราว หรือกิ่งไมที่มีใบใหญพรางแสงแดดทางทิศตะวันออกและทิศตะวันตก

                                         ่
                  และควรมีการใหน้ำอยางสมำเสมอในชวงแรกของการปลูก เพื่อใหตนสมโอสามารถเจริญเติบโตตอไปได
                                                                                  ี
                                                                                                     
                  อยางไรก็ตามการปลูกสมโอนครชัยศรีสามารถปลูกไดตลอดป แตชวงเวลาท่เหมาะสมควรปลูกในชวง
                  ตนฤดูฝน เนื่องจากสภาพภูมิอากาศเหมาะสมกับการเจริญเติบโตของตนกลา
                                    (1.3) การใหน้ำ การใสปุยและการดูแลรักษา
                                                                               ึ
                                         ตนสมโอในแตละชวงอายุตั้งแตเริ่มปลูกใหมจนถงชวงระยะที่เจริญเติบโตดีแลว
                  มีความตองการการใชน้ำที่แตกตางกัน ซึ่งในระยะที่ปลูกสมโอใหม ๆ จนถึงอายุ 3 ป ตองหมั่นใหน้ำ
                  ปริมาณคอนขางมากและสม่ำเสมอ สำหรับตนสมโออายุ 3 ปขึ้นไป อาจใหน้ำประมาณ 3 วันตอครั้งหรือ

                  ใหเปนครังคราวตามความจำเปน สวนวิธีการใหน้ำตนสมโอสามารถใหผานระบบสปริงเกลอร โดยใชหัว
                          ้
                  จายน้ำแบบมินิสปริงเกลอร ใหวางจุดของหัวมินิสปริงเกลอรหางจากโคนตนประมาณ 1.5 เมตร
                                                                                       ่
                                                                                   ั
                  เนื่องจากรัศมีของน้ำจะกระจายตามแนวรากของตนสมโอพอดี หรือใชเรือติดต้งเครืองสูบน้ำวิ่งตามรอง
                  ซึ่งวิธีการนี้เปนวิธีที่นิยมปฏิบัติ เนื่องจากสะดวกและรวดเร็ว สำหรับการใสปุยควรใสทั้งปุยเคมีและปุย
                                                                                                      
                  คอกควบคูกันไป ในระยะที่สมโออายุ 1 - 3 ป หรือยังไมใหผล ใหใสปุยคอกเกาผสมกับปุยเคมีสูตร
                  15 - 15 - 15 อัตรา 300 - 500 กรัมตอตนตอครั้ง โดยใส 3 - 4 ครั้งตอป เมื่อสมโออายุ 4 ปขึ้นไป
                         
                  การใสปุยจะแตกตางกันไปตามชวงของการออกดอกติดผล กลาวคือ หลังจากท่เก็บเก่ยวผลผลิตแลว
                                                                                          ี
                                                                                     ี
                                                           ั
                  ใหใสปุยสูตร 15 - 15 - 15 เพื่อใหตนสมโอฟนตว และเมื่อสมโอจะเริ่มออกดอกใหมใหเปลียนมาใช
                                                                                                ่
                  สูตร 8 - 24 - 24 หรือ 12 - 24 - 12 เพื่อชวยใหมีการสรางดอกดีขึ้น หลังจากติดผลแลวประมาณ
                             
                                                                                                     ื
                  30 วัน ใหใสปุยสูตร 15 - 15 - 15 เพื่อชวยใหผลมการเจริญเติบโตดีขึ้น จนกระทงผลมอายุได 5 - 6 เดอน
                                                                                       ี
                                                          ี
                                                                                   ั่
                                                                                                      ึ
                                                                                                      ้
                  ใหใสปุยสูตร 13 - 13 - 21 เพื่อชวยพัฒนาดานคุณภาพของเนื้อใหดีขึ้นและเพิ่มความหวานใหมากขน
                  สวนอัตราการใชควรพิจารณาจากขนาดของทรงพุมและจำนวนผลที่ติดในแตละป โดยทั่วไปเมื่อตนสมโอ
                  อายุได 6 - 7 ป เปนชวงที่มีการเจริญเติบโตเต็มที่ การใสปุยอาจจะใสครั้งละประมาณ 1 กิโลกรัม
                  สำหรับตนสมโอที่มีการติดผลมาก ควรมีการใหปุยทางใบรวมดวย ทั้งนี้วิธีการใสปุยควรโรยบนพื้นดน
                                                                                                      ิ
                                  ุ
                                                            
                                                                                           
                  ภายในบริเวณทรงพม แตระวังอยาใสใหชิดกบโคนตน เพราะอาจจะทำใหเปลือกรอบโคนตนสมโอเนาและ
                                                      ั
                                       
                                  
                  อาจทำใหสมโอตายได สวนการดูรักษาดานอื่น ๆ ไดแก การกำจัดวัชพืช ควรหมั่นกำจัดวัชพืชในแปลง
                                    
                  เพื่อปองกันการเปนแหลงสะสมของโรคและแมลง แตตองมีสิ่งปกคลุมดิน เพื่อชวยยึดดินไมใหหนาดน
                                                                                                      ิ
                  พังทลาย รวมทั้งชวยปองกันการระเหยของน้ำไดอีกดวย
                                    (1.4) การเก็บเกี่ยวผลผลิต
                                         สมโอจะเริ่มใหผลผลิตไดเมื่ออายุเฉลี่ย 4 ป ซึ่งการเก็บเกี่ยวผลผลิตสมโอ
                                 
                                                                                                 
                  ตามฤดูกาลจะอยูในชวงเดอนสิงหาคม - กันยายน โดยที่พันธุทองดี สามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตได เมื่อผล
                                        ื
                  สมโอมีอายุประมาณ 6 เดือนครึ่ง ถึง 7 เดือน หลังจากออกดอก สวนพันธุขาวน้ำผึ้ง สามารถเก็บเกี่ยว
                                                                                                      ั
                  ผลผลิตได เมื่อผลสมโอมีอายุประมาณ 6 ถึง 6 เดือนครึ่ง หลังจากออกดอก หรือสังเกตจากตอมน้ำมน
                  บนผิวจะขยายเปนเม็ดโต ๆ สีเปลือกจากสีเขียวจะเริ่มเปลี่ยนเปนสีเขียวอมเหลือง ในระยะดังกลาว
                  ผลสมโอจะมีความหวานเพิ่ม และปริมาณกรดลดลงทำใหเนื้อกุงมี สี กลิ่น และรสชาติดี









                  แผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย           กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
                                         
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41