Page 47 - แผนการใช้ที่ดินพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของประเทศไทย 2566
P. 47

2-33






                                                 
                             6) ลำไยพวงทองบานแพว
                                (1) การจัดการในระบบการเพาะปลูก
                                    (1.1) การเตรียมพันธุ
                                         การปลูกลำไยพวงทองบานแพว เกษตรกรในพื้นที่นิยมใชตนพันธุที่ไดจาก

                  การตอนกิ่ง เนื่องจากมีขั้นตอนการปฏิบัติไมยุงยาก และไดตนพันธุที่มีลักษณะตรงตามพันธุ ซึ่งเกษตรกร
                  จะคัดเลือกตอนกิ่งพันธุจากตนแมภายในสวนของตนเองที่มีความแข็งแรงสมบูรณ ปราศจากโรค และ
                                                                                            ั่
                                                                    ื
                                                                                    ิ่
                                                         ิ่
                  ใหผลผลิตสูง ทั้งนี้สำหรับขั้นตอนของการตอนกงลำไยจะเหมอนกันกับการตอนกงพืชโดยทวไปแตอาจม ี
                  ความแตกตางกันบางในดานการใชสารชวยเรงรากตางชนิดกัน ซึ่งขึ้นอยูกับประสบการณของเกษตรกร
                  แตละราย  และในการตอนกิ่งลำไยควรเลือกทำในชวงฤดูฝน เนื่องจากมีสภาพแวดลอมที่เหมาะสมตอ
                                                                                                      
                                                         ่
                                                                                             ่
                                                                                      ิ
                                                                                      ่
                                                         ิ
                                         
                  การกระตนใหสรางรากใหม ภายหลังจากตอนกงแลวเสร็จประมาณ 30 - 45 วัน กงตอนทสมบูรณจะม   ี
                                                                                             ี
                          
                          ุ
                  การเกิดรากใหมเปนสีขาวและมีความยาวเพียงพอที่จะสามารถทำหนาที่เลี้ยงกิ่งใหมได จึงจะตัดและ
                                                     ็
                                                           
                  นำไปปลูกชำไวในโรงเรือนจนกวารากจะแขงแรงกอนนำไปปลูกตอไป
                                                                       
                                    (1.2) การเตรียมดินและการปลูก
                                         การเตรียมพื้นที่สำหรับทำสวนลำไยพวงทองบานแพวในพื้นที่จังหวัด
                  สมุทรสาครที่มีลักษณะภูมิประเทศเปนที่ราบลุม ระดับน้ำใตดินสูง มีวิธีการเชนเดียวกันกับการเตรียม
                                    
                  พื้นที่ปลูกไมผลในที่ลุม ในการปองกันไมใหพืชไดรับความเสียหายจากน้ำทวมขังและชวยระบายน้ำออก
                  จากแปลงในชวงฤดูฝน โดยจะตองมีการยกรองใหเปนแปลงใหระดับดินสูงกวาระดับน้ำปกติ 80 - 100
                  เซนติเมตร โดยขนาดของแปลงกวางประมาณ 8 - 9 เมตร รองน้ำกวาง ประมาณ 1 - 2 เมตร และลึก
                  ประมาณ 1 - 1.5  เมตร หรือขนาดตามความเหมาะสมของพื้นที่ กอนปลูกมีการไถเตรียมดินละปรับ
                  พืนที่ใหสม่ำเสมอ สำหรับวิธีการปลูกลำไยบนแปลงที่มีการยกรองในพื้นที่นิยมปลูกเปนแถวเดียวใชระยะ
                   ้
                                                               ี
                                                                                                  ุ
                  ปลูกระหวางตนประมาณ 8 - 12 เมตร โดยหลุมปลูกมขนาด 30 × 30 × 30 เซนติเมตร ในการขดหลุม
                                                                                    ่
                  ปลูกใหแยกดินบนและดินลาง นำดินบนผสมคลุกเคลากับปุยคอกหรือปุยหมักทียอยสลายดีแลวกลบลง
                  ไปใหเต็มหลุม และขุดหลุมตรงกลางหลุมปลูกอีกครั้งใหมีขนาดพอที่จะสามารถนำกิ่งพันธุลำไยลงไปปลูก
                  ได กอนปลูกนำถุงพลาสตกดำออกกอนแลวจึงนำกิ่งพันธุลงปลูก จากนั้นใชดินกลบแลวนำไมหลักปกให
                                                                 
                                       ิ
                  ถึงกนหลุมเพื่อกันลมโยก หลังปลูกควรมีการใหน้ำอยางสม่ำเสมอจนกวากิ่งพันธุที่ปลูกใหม เริ่มแตกใบ
                  ออน และตนแข็งแรงดีแลว จึงคอยลดปริมาณการใหน้ำลง อยางไรก็ตามการปลูกลำไยพวงทองบานแพว
                  สามารถปลูกไดตลอดป แตชวงเวลาที่เหมาะสมควรปลูกในชวงตนฤดูฝน เนื่องจากสภาพภูมิอากาศม ี

                  เหมาะสมกับการเจริญเติบโตของตนพันธที่ปลูกใหม
                                                            
                                    (1.3) การใหน้ำ การใสปุยและการดูแลรักษา
                                         ตนลำไยในแตละชวงอายุตั้งแตเริ่มปลูกใหมจนถึงชวงระยะที่เจริญเติบโตด ี
                  แลว มีความตองการการใชน้ำที่แตกตางกัน ซึ่งในระยะที่ปลูกลำไยใหม ๆ ควรมีการใหน้ำสม่ำเสมอ
                  ประมาณสัปดาหละหนึ่งครั้ง เพื่อใหตนลำไยเจริญเติบโตไดตามปกติ สำหรับตนลำไยที่ใหผลผลิตแลว

                  ในชวงฤดูแลงควรมีการใหน้ำอยางสม่ำเสมอเชนเดียวกัน และควรใหสอดคลองกับความตองการของพืช
                  ดวย โดยเฉพาะชวงระยะแทงชอดอกจนถึงผลเจริญเติบโต ชวงเวลานี้ตองใหน้ำในปริมาณที่เพิ่มขึ้นและ
                                                                             
                  ควรใหอยางสม่ำเสมอ เพื่อไมใหผลรวงและแคระแกร็น สวนวิธีการใหน้ำตนลำไยสามารถใหผานระบบ

                                                                                                      
                  สปริงเกลอร โดยใชหัวจายน้ำแบบมินิสปริงเกลอร ใหวางจุดของหัวมินิสปริงเกลอรหางจากโคนตน




                                         
                  แผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย           กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52