Page 51 - แผนการใช้ที่ดินพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของประเทศไทย 2566
P. 51

่
                                                         บทที 3
                                       การวิเคราะหเพื่อกำหนดเขตการใชที่ดิน



                                                                ี
                                                          ื
                                   
                                                                ้
                  3.1  สภาวการณการผลิตและการตลาดพชบงชทางภูมิศาสตร            
                        3.1.1 สภาวการณการผลิต
                             1) สมโอนครชัยศรี
                                สมโอนครชัยศรี (Nakonchaisri pomelo) หมายถง สมโอพันธุทองดี และพนธุขาวน้ำผึ้ง
                                                                         ึ
                                                                                             ั
                  ซึ่งปลูกในอำเภอนครชัยศรี อำเภอสามพราน และอำเภอพุทธมณฑลของจังหวัดนครปฐม สมโอนครชัยศรี
                  ทั้งสองสายพันธุมีรสชาติคลายกัน คือ รสหวานอมเปรี้ยว เมื่อรับประทานแลวไมมีรสขมและรสซา
                                                                                                      
                  ลักษณะที่แตกตางอยางชัดเจนของสมโอทั้งสองพันธุ คือ สีของเนื้อสมโอพันธุทองดี มีสีชมพูอมแดง
                  เนื้อเรียงแนนและนิ่ม สวนพันธุขาวน้ำผึ้ง เนื้อสีขาวคลายน้ำผึ้ง เม่อแกจัดเนื้อแหง เม่อสังเกตดวยตา
                                                                                          ื
                                                                          ื
                              ั
                                                                                               
                                     ี
                                                                                     ี
                  ผลของสมโอพนธุทองดรูปทรงกลมแปน ผิวเรียบบาง สีเขยว ตอมน้ำมนเล็กละเอยดกวาพันธุขาวน้ำผึ้ง
                                                                            ั
                                                                  ี
                                                                      
                                                                                                      ้
                  ที่มีตอมน้ำมันใหญกวาและผลกลมนูน ในป พ.ศ. 2547 หอการคาจังหวัดนครปฐมไดยื่นคำขอขน
                                                                                                      ึ
                  ทะเบียนสิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตร “สมโอนครชัยศรี” และไดการรับการขึ้นทะเบียนเปนสิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตร
                  จากกรมทรัพยสินทางปญญา เมื่อวันที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2547 ทะเบียนเลขที่ สช 48100002
                  โดยประกอบดวยสมโอ 2 สายพันธุ ไดแก พันธุทองดีและพันธุขาวน้ำผึ้ง
                                สมโอนครชัยศรี ถือเปนผลไมขนชื่อของจังหวัดนครปฐมมาตั้งแตอดีต ดังจะเห็นไดจาก
                                                         ึ้
                                                        
                  คำขวัญประจำจังหวัดนครปฐม ที่วา “สมโอหวาน ขาวสารขาว ลูกสาวงาม ขาวหลามหวานมัน
                                                                                                ี่
                  สนามจันทรงามลน พุทธมณฑลคูธานี พระปฐมเจดียเสียดฟา สวยงามตาแมน้ำทาจีน” สาเหตุทไดชื่อวา
                  สมโอนครชัยศรีก็เพราะตงตามชื่อมณฑลนครไชยศรี ซ่งเปนแหลงปลูกสมโอท่สำคญ เนื่องจาก
                                                                                            ั
                                                                   ึ
                                                                                        ี
                                         ้
                                         ั
                  มีภูมิประเทศเหมาะสม พื้นที่บริเวณนี้เปนที่ราบลุม ดินน้ำไหลทรายมูลเกิดจากการทับถมของตะกอน
                  ธาตุอาหารเปนชั้น ๆ ในฤดูน้ำหลากของแมน้ำทาจีน ซึ่งก็คือพื้นที่อำเภอนครชัยศรี อำเภอสามพราน
                  และอำเภอพุทธมณฑลในปจจุบัน
                                สมโอนครชัยศรี นับเปนพืชเศรษฐกิจที่สรางรายไดใหกับเกษตรกรและมีขายอยูทั่วไป
                                                                                                      ื
                  ทั้งจังหวัด แตวาสวนในจังหวัดนครปฐมเองก็เหลือนอยเต็มที เนื่องจากปจจุบันเกษตรกรหันไปปลูกพช
                  ชนิดอื่นที่ใหผลเร็วหรือใชที่ดินจัดสรรเปนที่อยูอาศัยมากขึ้น ทำใหพื้นที่ปลูกสมโอลดลงจำนวนมาก
                  จากขอมูลกรมสงเสริมการเกษตร ป 2565 มีเนื้อที่ปลูก 6,713 ไร เนื้อที่ใหผล 4,717 ไร ผลผลิต 5,042 ตัน
                  ผลผลิตเฉลี่ย 2,173 กิโลกรัมตอไร เมื่อพิจารณาขอมูลยอนหลัง ระหวางป 2560-2565 พบวา เนื้อที่ปลูก
                  ลดลงรอยละ 6.60 ตอป โดยป 2560 มีเนื้อที่ปลูก 9,955 ไร ป 2565 ลดลงเหลือ 6,713 ไร

                                                                                                  ึ
                                                                                                  ้
                                                                                                ่
                                                                                                ิ
                  ขณะเดียวกันเนื้อทใหผล เพิ่มขึ้นรอยละ 5.27 โดยป 2560 มีเนื้อที่ใหผล 3,589 ไร ป 2565 เพมขนเปน
                                 ี่
                  4,717 ไร และผลผลิต เพิ่มขึ้นรอยละ 11.22 โดยป 2560 มีผลผลิต 2,763 ตัน ป 2565 เพิ่มขึ้นเปน
                  5,042 ตัน สงผลใหผลผลิตตอไรเพิ่มขึ้นในทิศทางเดียวกันรอยละ 9.84 โดยป 2560 มีผลผลิตตอไร
                                                            ิ
                  1,253 กิโลกรัมตอไร ป 2565 เพิ่มขึ้นเปน 2,173 กโลกรัมตอไร (ตารางที่ 3-1 และรูปท 3-1)
                                                                                         ี
                                                                                         ่
                                โดยพื้นที่ 3 อำเภอ ไดแก อำเภอนครชัยศรี อำเภอสามพราน และอำเภอพุทธมณฑล
                  ของจังหวัดนครปฐม ซึ่งเปนบริเวณพื้นที่ปลูกสมโอนครชัยศรี มีครัวเรือนเกษตรกรผูปลูกสมโอนครชัยศรี
                   ่
                  ทีขึ้นทะเบียนกับกรมสงเสริมการเกษตร ป 2565 รวมจำนวน 1,814 ครัวเรือน เมื่อพิจารณาขอมูลยอนหลัง



                                         
                  แผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย           กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56