Page 55 - แผนการใช้ที่ดินพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของประเทศไทย 2566
P. 55

3-5





                  จังหวัดสมุทรสงครามแลว ยังไดรับการขึ้นทะเบียนสิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตรจากกรมทรัพยสินทางปญญา

                  เมื่อวันที่ 10 มีนาคม พ.ศ. 2551 ทะเบียนเลขที่ สช 55100043 ในชื่อ “ลิ้นจี่คอมสมุทรสงคราม”
                      ี
                   ึ่
                                                                 
                  ซงมจุดเดนที่เมื่อสุกเต็มที่จะมีสีแดงเขม รูปรางกลม รูปไข หรือรูปหัวใจ เมล็ดทรงยาว เปลือกมีหนามตั้ง
                  หรือหนามแหลมหางเสมอกันทงลูกและไมเปนกระจุก หนังตึง เปลือกบาง เนื้อหนากรอบสีขาวอมชมพเรื่อ ๆ
                                                                                                  ู
                                                   
                                          ั้
                  เนื้อแหง รสชาติหวานอมฝาด มีกลิ่นหอม โดยตามปกติลิ้นจี่สมุทรสงครามจะใหผลผลิตปละครั้ง
                  ในชวงเดือนมีนาคม-เดือนเมษายน แตไมไดใหผลผลิตทกป ซึ่งบางครั้งใหผลผลิตปเวนป บางครั้งอาจทง
                                                               ุ
                                                                                                      ิ้
                  ระยะหางนานถึง 3 ป แลวแตสภาพอากาศ การที่จะใหติดผลนั้นจะตองมีอุณหภูมิต่ำกวา 20 องศา
                                                 ็
                  ตอเนื่องกันเกิน 15-20 วัน มีอายุการเกบเกี่ยว 120 วัน จะทำใหลิ้นจี่ มีรสชาติอรอยที่สุด เกษตรกรบางสวน
                  จึงเลือกที่จะโคนสวนลิ้นจี่ไปปลูกสมโอและมะพราวน้ำหอมแทน
                               จากขอมูลกรมสงเสริมการเกษตร ป 2565 มีเนื้อที่เพาะปลูก 5,159 ไร เนื้อที่ใหผล
                  5,159 ไร ผลผลิต 210 ตัน ผลผลิตเฉลี่ย 70 กิโลกรัมตอไร เมื่อพิจารณาขอมูลยอนหลัง ระหวางป
                  2560-2565 พบวา เนื้อที่เพาะปลูกและเนื้อที่ใหผล มีแนวโนมลดลง คิดเปนรอยละ 6.66 และ 4.53 ตอป

                  ตามลำดับ โดยป 2560 มีเนื้อที่เพาะปลูก 7,060 ไร ป 2565 ลดลงเหลือ 5,159 ไร ขณะเดียวกน
                                                                                                      ั
                             ้
                           ี
                  ป 2560 มเนือทีใหผล 6,416 ไร ป 2565 ลดลงเหลือ 5,159 ไร (ตารางที่ 3-3 และ รูปที่ 3-3)
                               ่
                               ป 2565 มีจำนวนครัวเรือนเกษตรกรผูปลูกลิ้นจี่คอมสมุทรสงคราม 1,953 ครัวเรือน
                  เมื่อพิจารณาขอมูลยอนหลัง ระหวางป 2560-2565 พบวา จำนวนครัวเรือนผูปลูกลิ้นจี่คอมสมุทรสงคราม
                  มีแนวโนมลดลง คิดเปนรอยละ 10.05 ตอป โดยป 2560 มีจำนวนครัวเรือนเกษตรกร 3,643 ครัวเรือน
                  ในป 2565 ลดลงเหลือ 1,953 ครัวเรือน (ตารางที่ 3-4 และรูปที่ 3-4)

                  ตารางที่ 3-3 เนื้อที่ ผลผลิต และผลผลิตตอไร ลิ้นจี่คอมสมทรสงคราม ป 2560-2565
                                                                  ุ
                                       เนื้อที่ปลูก  เนื้อที่ใหผล  เนื้อที่เก็บเกี่ยว   ผลผลิต   ผลผลิตตอไร
                           ป
                                         (ไร)       (ไร)         (ไร)         (ตัน)        (กก.)

                         2560            7,060        6,416           -            -              -

                         2561            6,387        5,843      5,823         3,774           648

                         2562            6,644        6,096           -            -              -
                         2563            5,427        5,236      5,203         1,636           314

                         2564            5,160        5,145      1,829         2,527          1,382

                         2565            5,159        5,159      3,004          210             70

                   อัตราเพิ่ม (รอยละ)    -6.66       -4.53           -            -

                  ที่มา: กรมสงเสริมการเกษตร (2565ก)















                  แผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย           กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
                                         
   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60