Page 57 - แผนการใช้ที่ดินพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของประเทศไทย 2566
P. 57

3-7







                            ครัวเรือน
                         4,000
                                   3,643

                         3,500

                         3,000
                                              2,376     2,375     2,375
                         2,500
                                                                             1,953      1,953
                         2,000

                         1,500


                         1,000


                          500

                            0
                                   2560      2561       2562       2563      2564       2565

                                                               ุ
                  รูปที่ 3-4 จำนวนครัวเรือนเกษตรกรผูปลูกลิ้นจี่คอมสมทรสงคราม ป 2560-2565
                             4) สมโอขาวใหญสมุทรสงคราม
                                สมโอขาวใหญสมทรสงคราม (Som-O Khaw Yai Samutsongkram หรือ Samutsongkhram
                                             ุ
                                           
                                                                                                 ี
                                       ึ
                  Khaoyai Pomelo) หมายถง สมโอพันธุขาวใหญ ที่มีผลคอนขางใหญ รสหวานถึงอมเปรี้ยวเล็กนอย มน้ำมาก
                  แตไมแฉะ ซึ่งปลูกในเขตพื้นที่ตำบลบางขันแตก ตำบลทายหาด อำเภอเมือง อำเภออัมพวา
                  (ยกเวนตำบลยี่สารและตำบลแพรกหนามแดง) และอำเภอบางคนทีของจังหวัดสมุทรสงคราม
                                สมโอพันธุขาวใหญ เปนผลไมเศรษฐกิจอีกชนิดหนึ่งที่สรางชื่อเสียงและรายไดใหกบ
                                                                                                      ั
                                                         
                  เกษตรกรในจังหวัดสมุทรสงคราม จนไดรับการขึ้นทะเบียนเปน “สิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตร” หรือ
                  Geographical Indications : GI  เมื่อวันที่ 19 มีนาคม 2553 ทะเบียนเลขที่ สช 55100045
                  โดยสมโอพันธุขาวใหญจะมีลักษณะเดน คือ มีผิวเรียบ ตอมน้ำมันใหญ เปลือกหนา ไมมีเมล็ด
                  กุง (กลีบของเนื้อสมโอ) เนื้อในมีสีขาวอมเหลือง มีรสหวานอมเปรี้ยวเล็กนอย มีน้ำมากแตไมแฉะ

                  แกะรอนไมติดเปลือก และเก็บไดนานเปนเดือนหลังจากเก็บเกี่ยว ปลูกในเขตพื้นที่จังหวัดสมุทรสงคราม
                  เพราะมีแมน้ำแมกลองไหลผาน ในตอนกลางมีน้ำกรอยและน้ำเค็มบริเวณปากอาวหรือเรียกไดวาเปน
                                 
                  “เมืองสามน้ำ” รวมทั้งมีภูมิอากาศเปนแบบฝนเมืองรอน ทำใหผลไมที่ปลูกในพื้นที่มีรสชาติดี โดยเฉพาะ
                  สมโอพันธุขาวใหญที่สามารถขึ้นไดดีและเปนที่ชื่นชอบของผูบริโภค ที่สำคัญจังหวัดสมุทรสงคราม

                  ยังใหความสำคัญกับการปรับปรุงคุณภาพใหเปนสมโอปลอดสารพิษ ซึ่งจะปลอดภัยแกผูบริโภคและ
                  ยังเปนผลไมมงคลอีกชนิดหนึ่งที่ชาวไทยเชื้อสายจีนนิยมนำไปไหวเจาในเทศกาลตาง ๆ เพราะมีความเชื่อวา
                  ถานำสมโอรวมเซนไหวจะไดรับโชคลาภ เปนสิริมงคลแกชีวิตของตนเองและคนในครอบครัว
                                จากขอมูลกรมสงเสริมการเกษตร ป 2565 มีเนื้อที่เพาะปลูก 12,152 ไร เนื้อที่ใหผล

                  11,825 ไร ผลผลิต 20,638 ตัน ผลผลิตเฉลี่ย 1,745 กิโลกรัมตอไร เมื่อพิจารณาขอมูลยอนหลัง





                  แผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย           กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
                                         
   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62