Page 54 - แผนการใช้ที่ดินพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของประเทศไทย 2566
P. 54

3-4





                             2) พริกบางชาง

                                พริกบางชาง หมายถึง พริกสดที่มีโคนผลใหญ ปลายเรียว เนื้อหนา ไสใหญ เมล็ดนอย
                  มีกลิ่นเฉพาะตัวผิวเรียบมัน ผลออนสีเขียวเขม ผลแกสีแดงจัด รสชาติไมเผ็ดมาก และพริกแหง
                                      
                                                       ี่
                  จะมีลักษณะผิวสีแดงเขมมันเงา ผลิตในพื้นทอำเภออัมพวา อำเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม และ
                  อำเภอดำเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี
                                พริกบางชาง เปนพืชพื้นถิ่นเกาแกในพื้นที่จังหวัดสมุทรสงคราม ใชเปนสวนประกอบ
                  อาหารตำรับชาววังมาตั้งแตครั้งตนกรุงรัตนโกสินทร อาหารชาววังในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธ
                  เลิศหลานภาลัย (รัชกาลที่ 2) ก็มีการใชพริกบางชาง เพราะมีจุดเดนอยูที่มีกลิ่นหอม สีสวยสด และ

                  รสชาติเผ็ดไมมากนัก เปนพืชที่เจริญไดดีบนดินเหนียวปนทราย ที่เกิดจากตะกอนน้ำทะเลและน้ำกรอย
                  พัดพามาทับถมอยูบนที่ราบน้ำทะเลขึ้นถึง ในอดีตเกษตรกรใชวิธีการขุดยกรองเพื่อใหมีระบบ
                  ชลประทานที่ดี สงผลใหพริกมีเนื้อหนา รสชาติไมเผ็ดจัดจนเกินไป จึงนิยมใชเปนสวนผสมในตำรับ
                                                             
                  อาหารชาววัง ทำใหอาหารมีสีสดและรสชาติไมเผ็ดเกินไป อันเปนลักษณะสำคัญของอาหารชาววัง

                  แตพอมายุคปจจุบันพริกบางชางกลับถูกลืมเลือนไปเพราะดวยสภาพพื้นที่เพาะปลูกที่เปลี่ยนไป
                  ทำใหพื้นที่เหมาะสมสำหรับปลูกพริกบางชางเหลือเพียงเล็กนอย
                                กรมทรัพยสินทางปญญาไดประกาศใหพริกบางชางที่ปลูกในพื้นที่อำเภออัมพวา อำเภอ
                                                                                                      ่
                  บางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม และอำเภอดำเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี ไดรับการขึ้นทะเบียนเปนสิง
                  บงชี้ทางภูมิศาสตร หรือ GI เมื่อวันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2558 ทะเบียนเลขที่ สช 59100081 โดยท ี ่
                  ปจจุบันยังไมมีเกษตรกรขออนุญาตใชตราสัญลักษณ GI
                                ปจจุบันพบเห็นพริกบางชางซึ่งเปนพริกประจำถิ่นของจังหวัดสมุทรสงครามไดยาก
                  เนื่องจากสภาพพื้นที่เปลี่ยนแปลง น้ำทะเลรุกเขาสวนจึงทำใหแหลงเพาะปลูกพริกบางชางในจังหวัด

                  สมุทรสงครามเหลือนอยลงจนแทบไมมีใหเห็น เพื่อไมใหพริกบางชางสูญหายไป ทางโครงการอนุรักษ 
                                                        ็
                   ั
                                                                                        ุ
                  พนธุกรรมพชอนเนืองมาจากพระราชดำริ สมเดจพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมารี มอบหมายให
                                 ่
                            ื
                              ั
                  ศูนยวิจัยและพัฒนาพืชผักเขตรอน ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตรกำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร
                                                  ี่
                              ั
                                               ื้
                  รวบรวมพริกมนบางชางจากหลายพนททงใน จังหวัดสมทรสงคราม จังหวัดนครปฐม และจังหวัดราชบุรี
                                                    ั้
                                                                ุ
                                                                                                     ั้
                  มาตั้งแต ป 2535 แลวนำมาคัดเลือกและทดสอบพันธุจนสำเร็จ ไดตนพันธุพริกที่มีคุณภาพดี ปลูกไดตลอดทงป
                  ใชชื่อวา “พริกมันบางชาง TVRC365” จึงเปนการคัดเลือกลักษณะของสายพันธุที่ดี รวมไปถึงการอนุรักษ 
                                                            ี
                                                                         ี่
                  และขยายพันธุใหเกษตรกรและประชาชนทั่วไปไดมการปลูกในพื้นทตอไป
                             3) ลิ้นจี่คอมสมทรสงคราม
                                          ุ
                                                                                                      ึ
                               ลิ้นจี่คอมสมุทรสงคราม (Samutsongkhram Kom Lychee หรือ Litchi) หมายถง
                  ลิ้นจี่พันธุคอม หรือ หอมลำเจียก ที่มีกลิ่นหอมหวาน มีลักษณะหนามตั้ง หนังตึง เนื้อเตง ซึ่งปลูกใน
                  ตำบลบางขันแตก อำเภอเมือง อำเภออัมพวา และอำเภอบางคนที ของจังหวัดสมุทรสงคราม
                                                                                                      ิ
                                                                                                    ี
                               จังหวัดสมุทรสงคราม ไดรับอิทธิพลจากแมน้ำแมกลอง เปนที่ราบชายฝงสงผลใหมดน
                                                                                                 ั
                                                                                                    ื
                  ตะกอนทับถม มีน้ำกรอยและเค็มจัด มีคลองธรรมชาติและคลองขุดเชื่อมตอกันเปนโครงขายท่วพ้นท่  ี
                  ดินมีสภาพเปนกรดเล็กนอยจนถงเปนดางปานกลาง จากสภาพดินและอากาศดงกลาวทำใหลิ้นจี่
                                              ึ
                                                     
                                                                                        ั
                  ที่เจริญเติบโตบนผืนดินของสมุทรสงคราม มีลักษณะเฉพาะตัวและรสชาติดีกวาลิ้นจี่จากที่อื่น สำหรับ
                  ความพิเศษของลิ้นจี่พนธุคอม หรือ หอมลำเจียก นอกจากจะเปนผลไมที่มีชื่อเสียงดั่งราชินีผลไมของ
                                     ั
                                         
                  แผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย           กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59